งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยินดีต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยินดีต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยินดีต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตบริการสุขภาพที่ 1

2 ๒๕ อำเภอ ๒๐๔ ตำบล ๒,๐๖๖ หมู่บ้าน 768,855 หลังคาเรือน ข้อมูลทั่วไป
๒๕ อำเภอ ๒๐๔ ตำบล ๒,๐๖๖ หมู่บ้าน 768,855 หลังคาเรือน ประชากร 1,602,699 คน ชาย ,599 คน (48.39 %) หญิง 827,100 คน (51.61 %) แหล่งที่มา : ข้อมูลจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

3 กลุ่มชาติพันธุ์ 72,791 คน (4.4๔%)
กลุ่มชาติพันธุ์ 72,791 คน (4.4๔%) 13 ชนเผ่า ประกอบด้วย ม้ง ลีซอ เย้า อีก้อ มูเซอ กะเหรี่ยง ลัวะ ปะหร่อง จีนฮ่อ ไทยใหญ่ ไทยลื้อ คะฉิ่น บุคคลผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ์ 132,727 คน แรงงานต่างด้าวขึ้นทะเบียน 74,648 คน

4 จำนวนสถานบริการสาธารณสุขในสังกัด
จำนวน (แห่ง) โรงพยาบาลศูนย์ (A) รพ.นครพิงค์(609 เตียง) รพท (M1) รพ.จอมทอง(207 เตียง), รพ.ฝาง(194 เตียง) รพช.แม่ข่าย (M2) รพ.สันป่าตอง(120 เตียง), รพ.สันทราย(100 เตียง) รพช. ขนาดใหญ่ (F1) รพ.เชียงดาว(60 เตียง), รพ.หางดง(60 เตียง), รพช. ขนาดกลาง (F2) ๑๖ รพช. ขนาดเล็ก (F3) รพ.วัดจันทร์เฉลิมพระเกียรติฯ(๑๐ เตียง) จำนวนเตียงทั้งหมด 2,110 เตียง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต.) ๒๖๗ สถานบริการสุขภาพชุมชน(สสช.) 39

5 จำนวนสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐอื่นและเอกชน
สถานบริการg9u จำนวน (แห่ง) โรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย(รพ.มหาราชนครเชียงใหม่ จำนวน 2,267 เตียง ) โรงพยาบาลนอกสังกัด สป. รพ.ประสาทเชียงใหม่ รพ.สวนปรุง รพ.ธัญญารักษ์ รพ. แม่และเด็ก สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ รพ.สังกัดกระทรวงอื่น(รพ.ค่ายกาวิละ,รพ.ค่ายดารารัศมี,รพ.กองบิน ๔๑,รพ.เทศบาลนครเชียงใหม่,รพ.เทศบาลหนองป่าครั่ง) รพ.สต.ถ่ายโอนให้แก่ อปท.

6 จำนวนบุคลากรสาธารณสุข
สาขา/วิชาชีพ จำนวนบุคลากร(คน) รวม อัตราแพทย์ต่อประชากร สสจ./สสอ./รพท./รพช. รพ.นครพิงค์ แพทย์ 294 191 485 1 : 3,304 ทันตแพทย์ 116 26 142 1 : 11,287 เภสัชกร 193 49 242 1 : 6,623 พยาบาลวิชาชีพ 1,902 743 2,645 1 : 606 นักวิชาการสาธารณสุข 652 14 666 1 : 2,406 พยาบาลเทคนิค/ เจ้าพนักงานและอื่นๆ 1,109 218 1,327 4,266 1,241 5,507 แพทย์ ปี 59 ประเทศ = 1:4,155 ข้อมูลประเทศ ปี 58 จำนวนประชากร 2,035 คนต่อแพทย์ 1 คน, จำนวนประชากร 9,352 คนต่อทันตแพทย์ 1 คน, จำนวนประชากร 5,317 คนต่อเภสัชกร 1 คน, จำนวนประชากร 436 คนต่อพยาบาลวิชาชีพ 1 คน  พยาบาล ปี 56 ประเทศ = 1:492 ภาคเหนือ =1: 543

7 การบริหารงาน ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

8 โครงสร้างการจัดการสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
ผู้ช่วย นพ.สสจ.ชม. นพ.วิชญ์ สิริโรจน์พร – ด้านกำลังคน นพ.จรัส สิงห์แก้ว - ด้านปฐมภูมิ นพ.ณรงค์เดช พิพัฒนวงศ์ -ด้านเทคโนโลยีและข้อมูลข่าวสาร นพ.ธรณี กายี –ด้านอุบัติเหตุและ ICS นายณรงค์เดช สมควร – ด้านสาธารณสุขระดับอำเภอและตำบล นายแพทย์ สาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่ ผอ.รพ.นครพิงค์ อำเภอในโซน บริการที่ ๕ ผชช.ว.(1) ผชช.ว.(2) ผชช.ส. ผชช.บ. กลุ่มงานพัฒนา ยุทธศาสตร์ กลุ่มงาน ควบคุมโรค กลุ่มงาน ส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มงานบริหาร ทั่วไป กลุ่มงานพัฒนา รูปแบบบริการ กลุ่มงานพัฒนา คุณภาพ กลุ่มงานทันต สาธารณสุข กลุ่มงาน ทรัพยากรบุคคล กลุ่มงานประกัน สุขภาพ กลุ่มงานคุ้มครอง ผู้บริโภค กลุ่มงานอนามัย สิ่งแวดล้อม กลุ่มงานนิติการ อำเภอในโซน บริการที่ ๓ อำเภอในโซน บริการที่ ๔ อำเภอในโซน บริการที่ ๒ อำเภอในโซน บริการที่ ๑

9 การจัดการองค์การ (Organizing) รูปแบบการบริหารในลักษณะเครือข่าย
การกำหนดโครงสร้างขององค์กร (Organizing structure) รูปแบบการบริหารในลักษณะเครือข่าย แยกและกำหนดบทบาทบทบาทภารกิจที่ชัดเจน - Provider - Regulator - Supporter 1. การแบ่งกลุ่มเครือข่ายบริการตามพื้นที่ (Zonal) 2. การพัฒนาสมรรถนะขีดความสามารถ 3. การบริหารทรัพยากรร่วม

10 การจัดโครงสร้างเพื่อขับเคลื่อนงาน
Regulator & Law enforcement Health Care Provider Supporter คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพจังหวัดเชียงใหม่ (คพส.จ.) (Provincial Health Board) ระดับจังหวัด คณะอนุกรรมการ regulator ระดับจังหวัด (Provincial Regulatory Committee) คณะอนุกรรมการ provider ระดับจังหวัด (Provincial provider Committee) คณะอนุกรรมการด้านการสนับสนุนทรัพยากรระดับจังหวัด คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับกลุ่มบริการ (คพส.ก.) ระดับกลุ่มบริการ คณะอนุกรรมการ regulator ระดับกลุ่มบริการ (Zonal Regulatory Committee) คณะอนุกรรมการ provider ระดับกลุ่มบริการ (Zonal Provider Committee ) คณะอนุกรรมการด้านการสนับสนุนทรัพยากร ระดับกลุ่มบริการ คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับอำเภอ (คพส.อ.) ระดับอำเภอ คณะอนุกรรมการ regulator ระดับอำเภอ (District Regulatory Committee) คณะอนุกรรมการ provider ระดับอำเภอ (District Provider Committee) คณะอนุกรรมการด้านการสนับสนุนทรัพยากร ระดับอำเภอ

11 แม่แจ่ม (รพ.เทพรัตนเวชชานุกูล)
การจัดเครือข่ายเพื่อการบริหารทรัพยากรในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ เครือข่ายฝาง (M1) ห่างจาก รพ.นครพิงค์ ๑๕๐ กม. ๓ อำเภอ ประชากร 229,601 คน ไชยปราการ หางดง แม่อาย จอมทอง ดอยเต่า ฮอด แม่แจ่ม (รพ.เทพรัตนเวชชานุกูล) อมก๋อย สารภี เชียงดาว พร้าว เวียงแหง ดอยสะเก็ด แม่ออน แม่แตง สะเมิง ดอยหล่อ แม่วาง สันป่าตอง สันทราย กัลป์ยาณิวัฒนา (รพ.วัดจันทร์เฉลิมพระเกียรติฯ) เมืองเชียงใหม่ ฝาง ฝาง เครือข่ายนครพิงค์ (A) ๒ อำเภอ ประชากร 321,257 คน เครือข่ายสันทราย (M2) ห่างจาก รพ.นครพิงค์ ๑๒ กม. ๗ อำเภอ ประชากร 387,908 คน เครือข่าย อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน ประชากร ๓๐,๕๙๕ คน แม่ริม เครือข่าย รพ.นครพิงค์ ประกอบด้วย อ.แม่ริม, อ.เมืองเชียงใหม่ สันกำแพง เครือข่ายรพ. ฝาง ประกอบด้วย อ.ฝาง, อ.แม่อาย, อ.ไชยปราการ รพ.หางดง(F1) ห่างจาก อ.เมือง ๑๒ กม. และห่างจาก รพ.สันป่าตอง ๑๖ กม. เครือข่ายสันป่าตอง (M2) ห่างจาก อ.เมือง ๒๘ กม. ๗ อำเภอประชากร 431,672 คน เครือข่ายรพ.สันทราย ประกอบด้วย อ.สันทราย, อ.กัลยาณิวัฒนา, อ.สะเมิง, อ.แม่แตง, อ.เวียงแหง อ.เชียงดาว, อ.พร้าว เครือข่ายจอมทอง (M1) ห่างจาก อ.เมือง ๖๐ กม. ๖ อำเภอ ประชากร 280,455 คน เครือข่าย รพ.สันป่าตอง ประกอบด้วย อ.สันป่าตอง, อ.หางดง, อ.ดอยสะเก็ด, อ.สารภี, อ.สันกำแพง, อ.แม่ออน, อ.แม่วาง เครือข่าย รพ.จอมทอง ประกอบด้วย อ.จอมทอง, อ.แม่แจ่ม, อ.ฮอด, อ.ดอยเต่า อ.อมก๋อย ,อ.ดอยหล่อ อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน ประชากร ๕๑,๔๖๔ คน อ.ลี้ จ.ลำพูน ประชากร ๖๙,๑๕๑ คน

12 การนำหรือการสั่งการ (Leading/Directing)
การทำงานของคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการ การสั่งการของคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการ - สภาผู้บริหาร (ประชุมทุก2 สัปดาห์) - คณะอนุกรรมการ Provider, Regulator, Supporter (ประชุมทุก 1 เดือน) - คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพจังหวัด, คพ.สจ. - ติดตามภารกิจที่มอบหมาย - พัฒนาและหารูปแบบการขับเคลื่อนงานที่ เหมาะสม สรุปการประชุมนำเข้าที่ประชุม คพ.สจ.เพื่อตัดสินใจ (ภายในวันเดียวกัน) - มอบหมายภารกิจ ตัดสินใจ และติดตาม ภารกิจที่มอบหมาย

13 การควบคุมและกำกับติดตามประเมินผล
(Controlling and Monitoring) 1. การติดตามผลการดำเนินงานนโยบายสำคัญ โดย นพ.สสจ. และรอง นพ. สสจ. ทุก 2 เดือน/โซนบริการ 2. คณะอนุกรรมการ Provincial Regulatory Committee ออกควบคุมกำกับและติดตามประเมินผล ปีละ 2 ครั้ง/อำเภอ 3. เครื่องมือที่ใช้ในการกำกับติดตาม 3.1 ผลงานตามตัวชี้วัด- CMBIS, HDC 3.2 กระบวนการทำงาน – Six auditing block(SAB) 3.3 การใช้จ่ายงบประมาณ – ระบบ SMS ของ สป.และ GFMIS

14 การพัฒนาระบบบริการในลักษณะเครือข่าย
One ZONE One Hospital SERVICE TRACK การบริหารจัดการร่วม

15 ปัญหาและการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่

16 แผนภูมิประชากรตามกลุ่มอายุ จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2559
ชาย หญิง **** อายุคาดเมื่อแรกเกิดเท่ากับ ปี ขณะนี้จังหวัดเชียงใหม่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดย ปี ๒๕๕9 ผู้สูงอายุมี จำนวน ๒๘4,419 คน ร้อยละ คาดว่าอีก 3 ปีข้างหน้าจะเพิ่มเป็น 3 แสนคน

17 แผนภูมิแสดงอัตราเกิด อัตราตายและอัตราเพิ่มตามธรรมชาติ ปี 25๕5 - 2559
แผนภูมิแสดงอัตราเกิด อัตราตายและอัตราเพิ่มตามธรรมชาติ ปี 25๕ หมายเหตุ : อัตราเกิด,อัตราตาย,อัตราเพิ่มตามธรรมชาติต่อพันประชากร : ข้อมูลจากกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

18 แผนภูมิแสดงสาเหตุการตายด้วยโรคที่สำคัญของจังหวัดเชียงใหม่ ปี 25๕5-2559
อัตราต่อแสนประชากร

19 อัตราการป่วยของผู้ป่วยนอกต่อประชากร 1,000 คนจำแนกตามสาเหตุ 5 ลำดับแรก
อัตราการป่วยของผู้ป่วยนอกต่อประชากร 1,000 คนจำแนกตามสาเหตุ 5 ลำดับแรก ปี

20 อัตราการป่วยของผู้ป่วยในต่อประชากร 100,000 คนจำแนกตามสาเหตุ 5 ลำดับแรก
อัตราการป่วยของผู้ป่วยในต่อประชากร 100,000 คนจำแนกตามสาเหตุ 5 ลำดับแรก ปี

21 อัตราการป่วยต่อประชากร 100,000 คนด้วยโรคทางระบาดวิทยา 5 ลำดับแรก
ปี ๘ อัตราต่อแสนประชากร

22 ลำดับความสำคัญปัญหาสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
ขนาดปัญหา ความรุนแรง ความเสียหาย ความตระหนักของชุมชน แนวโน้มปัจจัยสาเหตุ ความเป็นไปได้ รวมคะแนนที่ได้(เต็ม 30 คะแนน) ลำดับ มะเร็ง 5 4 3 25 1 โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) 24 2 การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 23 มารดาตาย 22 วัณโรค 21 ไข้เลือดออก 6 อุบัติเหตุการขนส่งทางบก 20 8 ฆ่าตัวตาย 19 9 การโฆษณาผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ 10

23 ขาด 440 เตียง จำนวนเตียงที่มีอยู่จริง 2,110 เตียง
จำนวนเตียงที่ควรมี 2,550 เตียง (15 เตียง/10,000 ประชากร) ประชากร 1.7 ล้านคน ประชากรแฝง 1 ล้านคน 1,500 เตียง จำนวนเตียงที่มีอยู่จริง 2,110 เตียง ขาด 440 เตียง

24 ชาวเชียงใหม่สุขภาพดี
๑. ส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ และคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ๒. พัฒนาระบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพและเป็นธรรม ๓. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการดูแลและจัดการระบบสุขภาพ ๔. พัฒนาระบบบริหารจัดการที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพที่เป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และนวัตกรรม เพื่อคนเชียงใหม่สุขภาพดีด้วยการพึ่งตนเองอย่างยั่งยืน goal ชาวเชียงใหม่สุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน 4E strategies PP & P Excellence Service Excellence People Excellence Governance Excellence สร้างเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคให้มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพและเพิ่มศักยภาพระบบบริการสุขภาพ พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะเหมาะสมในการปฏิบัติราชการและมีความผาสุกในการทำงาน จัดการความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของข้อมูล strategic issues ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนที่เป็นภัยต่อสุขภาพ เพิ่มการเข้าถึงบริการ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังระดับจังหวัดและหน่วยบริการ พัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อให้ประชาชนได้รับบริการและใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ลดความแออัดในสถานบริการ และ จัดระบบบริการในเครือข่ายแบบไร้รอยต่อ ขับเคลื่อนการสร้างนวัตกรรมและแหล่งเรียนรู้ด้วยองค์ความรู้ใหม่ พัฒนาระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ดำรงคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ส่งเสริมภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมและมีความเข้มแข็ง PA ผู้ตรวจราชการ Green & Clean RDU ECS/EOC One day Surgury องค์กรคุณภาพ ผู้สูงอายุ งานอนามัยแม่และเด็ก(มารดาตาย) ปัญหาจังหวัด ไข้เลือดออก มะเร็ง โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(เบาหวาน ความดัน) ITA PA ปลัดกระทรวง พชอ. PCC TB Happy MOPH การเงินการคลัง 16 targets 9 Core value M P H

25 การดำเนินงานนโยบายและการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปี 2561
PP&P Excellence Service Excellence People Excellence Governance Excellence พชอ.** TB** ไข้เลือดออก** งานอนามัยแม่และเด็ก (มารดาตาย)* ผู้สูงอายุ*** ECS/EOC** Green & Clean*** ความแออัดใน รพ.ระดับ A** One day Surgury*** PCC** RDU* MOPH** ITA* การเงินการคลัง** HA** PMQA** รพ.สต.ติดดาว** หมายเหตุ * = มีโอกาสในการพัฒนา **= คุณภาพงานในระดับพื้นที่อยู่ในระดับปานกลาง *** = ระบบงานมีประสิทธิภาพสามารถพัฒนาเป็นต้นแบบได้

26 การถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติ
ดำเนินประชุมชี้แจงนโยบาย(คำรับรองการปฏิบัติราชการของ ปลัดกระทรวง/ผู้ตรวจราชการ) รวมทั้งตัวชี้วัดการตรวจราชการ ปี 2561 แก่ผู้บริหารระดับอำเภอและหัวหน้ากลุ่มงานในการประชุม คพสจ. ประชุมชี้แจงรายละเอียดคำรับรองการปฏิบัติราชการของ (ปลัดกระทรวง/ผู้ตรวจราชการ) และ ตัวชี้วัดการตรวจราชการ ปี 2561 แก่ผู้รับผิดชอบงานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พร้อมมอบหมายเจ้าภาพในการขับเคลื่อนงาน และให้มอบหมายให้รองนายแพทย์สาธารณสุขเป็นผู้ควบคุมกำกับในแต่ละ Excellence ผู้รับผิดชอบฯ จัดทำกรอบการทำงาน(House model) ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการของ (ปลัดกระทรวง/ผู้ตรวจราชการ) ตัวชี้วัดการตรวจราชการ ปี 2561 วางแผนชี้แจงผู้ปฏิบัติงานระดับอำเภอและตำบล ในเดือนพฤศจิกายน 2560

27 ความสำเร็จการพัฒนางาน

28 SERVICE PLAN SERVICE TRACK การบริหารจัดการร่วม
จำนวน 23 สาขา จัดการบริหาร 5 เครือข่าย เตียง 5 สี ลดแออัดผู้ป่วยในรพ. A ผู้ป่วย 5 กลุ่มโรค ลงสู่ รพ.M2/F Resource sharing

29 การส่งผู้ป่วย 5 กลุ่มโรคไปรพ.ทั่วไป/รพ.ชุมชน
จัดหอผู้ป่วยที่รพ.สันกำแพง (F2) จำนวน 21 เตียงรับผู้ป่วย (One day/Admit) กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด ส่งกลับรพ.ชุมชนที่ Refer มาตามข้อตกลง กลุ่มผู้ป่วย End of life care กลุ่มผู้ป่วย Chronic wound care เริ่มโครงการ เมษายน 2558 ส่งผู้ป่วยรักษาที่ รพ.สันป่าตอง (M2) Uncomplicated case ผ่าตัดที่รพ.สันป่าตอง (M2) สันทราย (M2) หางดง (F1) กลุ่มผู้ป่วย Rehabilitation กลุ่มผู้ป่วยที่ CMI<1 ส่งบำบัดที่รพ.สารภีบวรพัฒนา (F2)

30 Resource sharing การบริหารจัดการทรัพยากรร่วม การบริหารจัดการยาร่วม
การบริหารจัดการเงินร่วม เครื่องช่วยหายใจ ห้องผสมยาเคมีบำบัด Laminar flow Fundus Camera สาขาตา Transport Incubator Infusion pump และ syringe ยา SK ยาจิตเวช ยาสาขากุมารฯ ยาปฏิชีวนะสาขาศัลย์ฯ ยาสำหรับสาขาสูติฯ ในหญิงตั้งครรภ์ สนับสนุนทุนนักศึกษาพยาบาล CFO จังหวัด ,การจัดสรรเงิน, รพ.สต. รพ.สต. S,M,L

31 การพัฒนาเคมีบำบัด โรงพยาบาลสันกำแพง
แนวคิดการพัฒนา 1. นโยบายการใช้ทรัพยากรร่วมกัน One Province One Hospital 2. ลดระยะเวลารอคอยการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด 3. ลดความแออัดของเตียงจากโรงพยาบาลศูนย์ (โรงพยาบาลนครพิงค์) 4. สร้างความพึงพอใจผู้ป่วยมะเร็งที่มารับยาเคมีบำบัด 5. เพิ่มศักยภาพโรงพยาบาลชุมชนในการรักษาโรคมะเร็ง

32 - ปริมาณผู้ป่วยตั้งแต่เริ่มเปิดหอเคมีบำบัด เดือน กุมภาพันธ์ 2558 มีแนวโน้มของการรอรับบริการเคมีบำบัดเพิ่มสูงขึ้น - ปัจจุบันมีเตียงรองรับบริการเคมีบำบัดได้จำนวน 27 เตียง พร้อมๆกัน

33 การเกิดภาวะ Extravasationระหว่างการให้ยาเคมีบำบัด ลดลง เนื่องจาก เจ้าหน้าที่มีทักษะและอุปกรณ์ที่ช่วยในการบริหารยา (Infusion pump)อย่างเพียงพอ

34 ความพึงพอใจต่อการรักษาในระดับสูงมาก(ร้อยละ ) เนื่องจาก มีสถานที่ให้บริการเคมีบำบัดแยกเฉพาะโรค บรรยากาศเงียบสงบ มีการจัดกิจกรรมเสริมเรื่องภาวะจิตใจ เช่น การสวดมนต์ การนั่งสมาธิ ดนตรีบำบัด

35 ปีงบประมาณ มีค่า CMI เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน อีกทั้งมีค่า CMI สูงกว่าค่าเฉลี่ยของโรงพยาบาลชุมชนในขนาดเดียวกันอย่างมาก

36 -เมื่อเปิดให้บริการเคมีบำบัดเต็มจำนวน 27เตียง ในทุกสิทธิแล้ว มีรายรับมากกว่ารายจ่าย (ไม่รวมเงินเดือนข้าราชการ) -ขณะนี้การให้บริการเคมีบำบัดแก่ผู้ป่วยโดยมีรายรับเท่ากับรายจ่าย อยู่ที่การให้บริการเคมีบำบัด 70 คน/เดือน ซึ่งในปัจจุบันมีผู้รับบริการเฉลี่ย 100 คน/เดือน

37 ความก้าวหน้าการดำเนินงบลงทุนปี 61

38 รายการครุภัณฑ์ จำนวน 15 รายการ
ลำดับ รายการ การดำเนินการ 1 ครุภัณฑ์การแพทย์ จำนวน 13 รายการ(งบบูรณราการภาคผ่านกระทรวงสาธารณสุข) วงเงินงบประมาณ 26,950,000 บาท 1.1 เครื่องวัดความดันแบบดิจิตอล จำนวน 828 เครื่อง 1.2 เครื่องฟังเสียงหัวใจของทารกในครรภ์(Doptone) จำนวน 12 เครื่อง 1.3 เครื่องวัดความดันโลหิตแบบสอดแขนชนิดอัตโนมัติ จำนวน 9 เครื่อง 1.4 เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจชนิดอัตโนมัติ (AED) จำนวน 9 เครื่อง 1.5 เครื่องตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจพร้อมระบบประมวลผลขนาดกระดาษ บันทึกแบบ Thermal ไม่น้อยกว่า A4 จำนวน 12 เครื่อง 1.6 เครื่องตรวจอวัยวะภายในด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง ชนิดสี 2 หัวตรวจ จำนวน 12 เครื่อง 1.7 เครื่องอบความร้อนคลื่นสั้น จำนวน 9 เครื่อง 1.8 เครื่องกระตุ้นปลายประสาทด้วยไฟฟ้า จำนวน 12 เครื่อง 1.9 เครื่องดึงคอและหลังอัตโนมัติพร้อมเตียงปรับระดับได้ จำนวน 12 เครื่อง อยู่ในระหว่างเสนอ ผวจ.ชม. แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดคุณลักษณะครุภัณฑ์

39 รายการครุภัณฑ์ จำนวน 15 รายการ
ลำดับ รายการ การดำเนินการ 1 ครุภัณฑ์การแพทย์ (ต่อ) 1.10 หม้อต้มแผ่นความร้อน จำนวน 12 ใบ 1.11 เครื่องฝึกยืนพร้อมเตียงไฟฟ้า จำนวน 12 เครื่อง 1.12 หม้อแช่พาราฟิน จำนวน 12 ใบ 1.13 เครื่องวัดความดันลูกตาแบบไม่สัมผัสกระจกตา จำนวน 1 เครื่อง อยู่ในระหว่างเสนอ ผวจ.ชม. แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดคุณลักษณะครุภัณฑ์

40 งบประมาณปกติ สป.สธ. ลำดับ รายการ การดำเนินการ 2 รถโดยสารขนาด 12 ที่นั่ง (ดีเซล) ปริมาตรกระบอกสูบไม่ต่ำกว่า 2400 ซีซี หรือกำลังเครื่องยนต์สูงสุดไม่ต่ำกว่า 90 กิโลวัตต์ จำนวน 1 คัน งปม. 1,288,000 บาท รอเงินจัดสรรงบประมาณ จาก สป. เพื่อลงนามทำสัญญา 3 รถบรรทุก (ดีเซล) ขนาด 1 ตัน ปริมาตรกระบอกสูบไม่ต่ำกว่า 2400 ซีซี หรือกำลังเครื่องยนต์สูงสุดไม่ต่ำกว่า 110 กิโลวัตต์ ขับเคลื่อน 4 ล้อ แบบดับเบิ้ลแค็บ จำนวน 5 คัน งปม. 4,760,000 บาท

41 รายการสิ่งก่อสร้าง จำนวน 4 รายการ
ลำดับ รายการ การดำเนินการ 1 ระบบบำบัดน้ำเสีย 1 ระบบ รพ.สันทราย งปม. 13,909,500 บาท ประกาศเผยแพร่ร่าง TOR 3-6 ตุลาคม 2560 มีผู้วิจารณ์TOR, อยู่ระหว่างพิจารณาปรับปรุง คาดว่าจะแล้วเสร็จภายในวันที่ 12 ตุลาคม 2560 และสามารถก่อหนี้ผูกพันได้ภายในไตรมาส 1 2 อาคารรพ.สต.บ้านยางเนิ้ง ต.ยางเนิ้ง อ.สารภี 1 หลัง งปม. 19,021,500 บาท สบส.เขต 1 ปรับราคากลางท้องถิ่น คาดว่าจะเสร็จภายในวันที่ 12 ตุลาคม 2560 3 อาคารพัสดุ 1 หลัง รพ.วัดจันทร์เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา งปม. 7,617,500 บาท 4 อาคารโรงครัว โรงอาหาร 1 หลัง งปม. 9,603,000 บาท

42 การดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง งบลงทุน งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง งบลงทุน งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ

43 งบประมาณ ปี 2559 ลำดับ รายการ การดำเนินการ 1 2
ครุภัณฑ์ จำนวน 13 รายการ สิ่งก่อสร้าง จำนวน 28 รายการ 2.1 ก่อสร้างและเบิกจ่ายแล้วเสร็จ จำนวน 26 รายการ 2.2 คงเหลือ 2 รายการ อยู่ระหว่างก่อสร้าง - ตึกคนไข้นอก รพ.30 เตียง รพ.แม่ตื่น อ.อมก๋อย วงเงิน 14,850,000 บาท ครบกำหนด 17 เม.ย. 60 ล่าช้า 178 วัน - อาคารผู้ป่วยนอก-อุบัติเหตุ รพ.สันทราย วงเงิน 177,610,900.- บาท จะครบกำหนด 8 ส.ค. 61 (ผูกพันปี 2559 – 2561) ลงนามในสัญญา ,ส่งมอบ และเบิกจ่ายแล้วเสร็จทุกรายการ แจ้งการปรับแล้ว คกก.ตรวจการจ้างมีมติให้ปรับแก้ไขระบบอุปกรณ์ไฟฟ้า ผู้รับจ้างกำลังดำเนินการ คาดว่าจะแล้วเสร็จเบิกจ่ายงวดสุดท้าย ได้ภายในเดือนต.ค. 60 อยู่ระหว่างก่อสร้างงวดที่ 10/16 ตามงวดงานในสัญญา

44 งบประมาณ ปี 2560 ลำดับ รายการ การดำเนินการ 1 2
ครุภัณฑ์การแพทย์ 9 รายการ สิ่งก่อสร้าง 15 รายการ 2.1 ก่อสร้างและเบิกจ่ายแล้วเสร็จ จำนวน 5 รายการ 2.2 ก่อสร้างล่าช้ากว่าสัญญา จำนวน 2 รายการ - อาคารพักพยาบาล 24 ห้อง รพ.แม่ตื่น อ.อมก๋อย วงเงิน 9,279,000.- บาท จะครบกำหนด 2 ธ.ค. 2560 ล่าช้า 129 วัน - อาคารพักพยาบาล 24 ห้อง รพ.เวียงแหง อ.เวียงแหง วงเงิน 8,565,930.- บาท จะครบกำหนด 3 ธ.ค. 2560 ล่าช้า 128 วัน ลงนามในสัญญา ,ส่งมอบ และเบิกจ่ายแล้วเสร็จทุกรายการ อยู่ระหว่างก่อสร้างงวดที่ 4/8 คกก.ประชุมเร่งรัด พร้อมทั้งให้ผู้รับจ้างปรับแผนการก่อสร้างให้ส่งมอบภายในกำหนด -อยู่ระหว่างก่อสร้างงวดที่ 4/8 คกก.ประชุมเร่งรัด พร้อมทั้งให้ผู้รับจ้างปรับแผนการก่อสร้างให้ส่งมอบภายในกำหนด

45 งบประมาณ ปี 2560 (ต่อ) ลำดับ รายการ การดำเนินการ
2.3 อยู่ระหว่างดำเนินการก่อสร้างตามสัญญา จำนวน 8 รายการ - อาคารที่ทำการสสอ.แม่ออน - อาคารที่ทำการสสอ.สะเมิง - อาคารผู้ป่วย 60 เตียง รพ.เชียงดาว - อาคารซักฟอกจ่ายกลาง รพ.เชียงดาว - อาคารพักพยาบาล 100 ห้อง รพ.สันทราย - อาคารผู้ป่วยใน 144 เตียง รพ.สันทราย - อาคารผู้ป่วยใน 144 เตียง รพ.ฝาง - ระบบประปา รพ.สันป่าตอง ก่อสร้างงวดที่ 6/6 ก่อสร้างงวดที่ 5/6 ก่อสร้างงวดที่ 5/8 ก่อสร้างงวดที่ 4/6 ก่อสร้างงวดที่ 6/14 ก่อสร้างงวดที่ 9/18 ก่อสร้างงวดที่ 8/18 ก่อสร้างงวดที่ 2/4

46


ดาวน์โหลด ppt ยินดีต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google