งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักการออกแบบระบบการสอน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักการออกแบบระบบการสอน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักการออกแบบระบบการสอน
รศ. บรรพต พรประเสริฐ

2 หลักการออกแบบระบบการสอน 5 ขั้นตอนดังต่อไปนี้
หลักการออกแบบระบบการสอน 5 ขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. การวิเคราะห์ 2. การออกแบบ 3. การผลิตสื่อ 4. การนำไปทดลองใช้ 5. การประเมินผล

3 การวิเคราะห์ (Analysis) ได้แก่ 1
การวิเคราะห์ (Analysis) ได้แก่ 1. การวิเคราะห์คุณลักษณะของผู้เรียน ( Learner Characteristic)

4 การรู้จักผู้เรียนมีผลดี ดังนี้
ช่วยให้การกำหนดจุดประสงค์ของการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับผู้เรียน ช่วยให้การกำหนดเนื้อหาได้เหมาะสมกับระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน ทำให้สามารถจัดแบ่งกลุ่มผู้เรียนได้ตามความรู้ความสามารถและความสนใจของผู้เรียน ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เรียนที่ควรศึกษา เนื่องจากมีผลต่อการเรียนรู้ ได้แก่

5 1. พฤติกรรมของผู้เรียนที่มีก่อนการสอน
ทักษะและความรู้พื้นฐานเดิม ความสามารถในการเข้าใจสิ่งที่ผู้สอนให้ ความขยันขันแข็งหมั่นเพียร ความมานะพยายาม ในการเรียน ความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สอนควรทราบพฤติกรรมผู้เรียน ก่อนทำการเรียน

6 2. วุฒิภาวะทางสติปัญญา (Cognitive Matiuration) 3
2. วุฒิภาวะทางสติปัญญา (Cognitive Matiuration) 3. วุฒิภาวะทางสรีระศาสตร์ (Physiological Maturation)

7 4. ความสามารถทางจิตศาสตร์และความถนัด (Psychological Abilities and Aptitudes) 5. การวิเคราะห์ผู้เรียนในเรื่องอายุ เพศ พื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจและสังคม

8 2. การวิเคราะห์ปัญหา (Ploblem Analysis) หรือประเมินความต้องการ (Need Assessment)

9 3.การวิเคราะห์กิจกรรม หรือ งาน (Job/Task)
1) กิจกรรมที่เป็นกระบวนการ ( Procedural tasks ) 2) กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับทักษะปัญหา เช่น กิจกรรม การเรียนการสอนด้านการแก้ปัญหา ด้านการเรียนรู้ กฎ ด้านการเรียนรู้มโนทัศน์ และด้านการจำแนก แยกแยะ 3) กิจกรรมสารสนเทศด้านภาษา (Verbal Information ) 4) กิจกรรมด้านทัศนคติ ( Attitudes )

10 การวิเคราะห์กิจกรรมเหล่านี้ อาจเกิดได้โดย
1. การออกแบบสอบถาม (Procedural tasks) 2. สังเกตการทำงานของผู้เชี่ยวชาญ 3. การสังเกตกิจกรรมที่ได้กระทำของผู้เรียน 4. โดยการสัมภาษณ์ 5. การสนทนากับบุคคลที่เกี่ยวข้อง 6. ทดลองปฏิบัติงานนั้นแล้วนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้ มาเขียนเป็นรายละเอียดตามลำดับขั้นตอนที่ได้ปฏิบัติแล้ว

11 4.การวิเคราะห์ทรัพยากร หรือแหล่งวิชาการ (Resource)
4.1 การวิเคราะห์คุณลักษณะของบุคลากรทางการศึกษา 1. มีทักษะทางด้านใด 2. ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เพียงใด 3. มีความเชี่ยวชาญพิเศษทางด้านใด 4. อุทิศเวลาให้กับผู้เรียนได้มากน้อยเพียงใด 5. มีความสามารถในการแก้ปัญหามากน้อยเพียงใด 6. มีเจตคติต่อกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างไร

12 4. 2 การวิเคราะห์วัสดุอุปกรณ์ เช่น 1
4.2 การวิเคราะห์วัสดุอุปกรณ์ เช่น 1. วัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่สอดคล้องกับเนื้อหาในการเรียนการสอน อย่างไร 2. สภาพการใช้งาน ทันสมัยหรือเก่าแก่ชำรุดอย่างไร 3. ผู้สอน ผู้เรียนสะดวกในการใช้วัสดุอุปกรณ์หรือไม่ 4.3 วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางกายภาพ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องฉาย สภาพแวดล้อมเกี่ยวกับ แสง เสียง การระบายอากาศและการบรรยายทางวิชาการ และอื่นๆ สิ่งแวดล้อมภายนอกโรงเรียน ได้แก่ ชุมชน

13 การออกแบบระบบการสอน (Instruction Design)

14 1.การกำหนดจุดมุ่งหมายของระบบการสอน
มี 2 แบบ คือ จุดมุ่งหมายทั่วไป (Goal) จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม (Behavioral Objective) การกำหนดจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม 3 รูปแบบ 1. จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมแบบธรรมดา 2. จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมแบบมีเงื่อนไข 3. จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมแบบมีการกำหนดมาตรฐานหรือเกณฑ์ของการยอมรับ

15 Benjamin S.Bloom(1982) แบ่งตามจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอนที่ต้องระบุถึง พฤติกรรมทั้ง 3 ด้าน ดังนี้

16 1.พุทธพิสัย (Cognitiive Domain)
หมายถึง พฤติกรรมที่บ่งบอกถึงความสามารถทางสติปัญญา ซึ่งแบ่งย่อยเป็น 6 ระดับได้แก่ 1. ความรู้-ความจำ (Knowledge) 2. ความเข้าใจ (Comprehension) 3. การนำไปใช้ (Application)

17 4. การวิเคราะห์ (Analysis)
5. การสังเคราะห์ (Synthesis) 6. การประเมิน (Evaluation) 1) การประเมินตามเกณฑ์ภายใน (Internal Evidence) 2) การประเมินผลตามกฏเกณฑ์ภายนอก (External Criteria)

18 2. จิตพิสัย (Affective Domain)
เป็นพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ มุ่งบอกถึงการพัฒนาการทางด้านอารมณ์ เจตคติและค่านิยม มีรายละเอียด 1. การยอมรับ (Attending or Receiving) 2. การตอบสนอง (Responding) 3. การสร้างค่านิยม (Valuing) 4. การจัดรูปงาน (Organization)

19 3.ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
หลักการเขียนวัตถุประสงค์การเรียนการสอนของกาเย่ (Gagne’ 1988) 5 ประเภท 1. ทักษะทางปัญญา (Intellectual Skill) 2. ยุทธศาสตร์การคิด (Cognitive Strategies) 3. สารสนเทศทางภาษา (Verbal Information) 4. ทักษะการเคลื่อนไหว (Motor Skills) 5. ทัศนคติ (Attitude)

20 ข้อดีของการกำหนดจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม ได้แก่
1. ฝ่ายผู้บริหาร 2. ฝ่ายผู้สอน 3. ฝ่ายนักเรียน 4. ฝ่ายผู้ทำงานเกี่ยวข้องกับหลักสูตร

21 เนื้อหา (Content) ข้อมูลที่เป็นความรู้ เจตคติ ทักษะ
กาเย่และบริกส์ (Gagne and Briggs) ได้แบ่งประเภทของเนื้อหาวิชาออกเป็น 3 ประเภท คือ ข้อมูลที่เป็นความรู้ เจตคติ ทักษะ

22 ความรู้ที่เป็นข้อมูลธรรมดา มโนทัศน์และหลักการ
เดอร์ เซคโก (De Cecco) แบ่งประเภทของเนื้อหาวิชาดังนี้ ทักษะ ความรู้ที่เป็นข้อมูลธรรมดา มโนทัศน์และหลักการ การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ และการค้นพบ

23 1.ความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริงและความรู้ทางด้านภาษา (Factual Information and Verbal Knowledge) 2.มโนทัศน์และหลักการ (Concepts and Principles)

24 3.การแก้ปัญหาและการคิดสร้างสรรค์ (Problem Solving and Creativity)
3.1 การคิดแก้ปัญหา ในทัศนะของกาเย่ (Gagne) ถือว่าการคิดแก้ปัญหาเป็นการเรียนรู้ขั้นสูงสุดในประเภทการเรียนรู้ 8 ชนิดด้วย 3.2 การคิดอย่างสร้างสรรค์ (Creativity)

25 4.ทักษะทางกาย (Skills) 4.1 ทักษะที่ต้องการความเคลื่อนไหวทางกายสูง 4.2 ทักษะทางกายที่ต้องการความสามารถในการรับรู้ 4.3 ทักษะที่ต้องการความเคลื่อนไหวทางด้านร่างกายค่อนข้างต่ำ

26 5. เจตคติและค่านิยม (Attitude and Values)
เจตคติ (Attitude) เป็นการที่บุคคลแสดงออกถึงการยอมรับหรือไม่ยอมรับ ความชอบหรือไม่ชอบในบุคคลหรือสิ่งใดๆ ค่านิยม (Values) เป็นสิ่งที่คนส่วนใหญ่ยอมรับกันว่ามีคุณค่ามาก มีความดี ความงาม และเป็นที่พึงปรารถนา

27 สรุป เกณฑ์ในการเลือกเนื้อหามีดังนี้ 1. มีความสำคัญและเชื่อถือได้ 2. มีความสอดคล้องกับความต้องการและความสนใจของผู้เรียน 3. มีความสอดคล้องกับประสบการณ์ของผู้เรียนและเมื่อเรียนรู้ แล้ว ผู้เรียนสามารถนำมาประยุกต์ใช้ 4. มีความสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในสังคม 5. สามารถสนองจุดมุ่งหมายได้หลายๆด้าน

28 กิจกรรมการเรียนการสอน
1. จุดมุ่งหมายของกระบวนวิชาที่ต้องการให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในลักษณะใด 2. เนื้อหาเหมาะสมและสอดคล้องกับระดับความรู้ ของผู้เรียน 3. รายละเอียดของเนื้อหาวิชาที่กำหนดไว้ในหลักสูตร

29 4. ภารกิจของผู้สอนและการเตรียมตัวของผู้สอน
5. พิจารณาจัดรูปแบบการสอนที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 6. ความร่วมมือของผู้บริหารโรงเรียนที่ให้การสนับสนุนผู้ สอนในการจัดรูปแบบการสอนที่ส่งเสริมความรู้ของ ผู้เรียน

30 การทดสอบ (Test)

31 การเลือกออกแบบสื่อ (Media Selection/Design)
1.      การวิเคราะห์ผู้เรียน 2.      การกำหนดจุดมุ่งหมาย 3.      การกำหนดสื่อการเรียนการสอน การดำเนินการจัดหาสื่อการเรียนการสอนกระทำได้ 3 ทางด้วยกัน คือ

32 การเลือกใช้สื่อที่มีอยู่แล้ว ไฮนิช ได้ให้เกณฑ์ไว้ดังนี้
1.1) สื่อนั้นตรงกับเนื้อหาวิชาในหลักสูตร 1.2) สื่อนั้นตรงกับจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้ 1.3) สื่อนั้นมีความถูกต้องในเนื้อหาวิชาการใช้ภาษา เหมาะสม ชัดเจน และทันต่อเหตุการณ์ 1.4) สื่อนั้นเร้าความสนใจ เป็นแรงจูงใจให้ผู้เรียน ต้องการเรียน

33 1.5)  สื่อนั้นได้ออกแบบมาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม
1.6)  สื่อนั้นมีคุณภาพทางเทคนิคดี 1.7)  สื่อนั้นมีคู่มือในการใช้ หรือมีเอกสารอื่น ประกอบ 1.8)  สื่อนั้นได้ผ่านการหาประสิทธิภาพของสื่อแล้ว

34 2 ) การดัดแปลงจากสื่อที่มีอยู่แล้ว

35 3 ) การออกแบบสื่อใหม่ ไฮนิค ให้ข้อเสนอแนะไว้ดังนี้
3 ) การออกแบบสื่อใหม่ ไฮนิค ให้ข้อเสนอแนะไว้ดังนี้ 2.1) จุดมุ่งหมาย (Objectives) ตั้งไว้เพื่อให้นักเรียนรู้อะไร จากสื่อ 2.2) ผู้เรียน (Audience) คุณลักษณะของผู้เรียนว่าจะต้องมี ความรู้และทักษะพื้นฐานในการเรียนจากสื่อและการใช้ สื่อนั้นมาก่อนหรือไม่ 2.3) งบประมาณ (Cost) มีงบประมาณการลงทุนเพียงพอที่จะ ผลิตสื่อหรือไม่

36 2. 4) ความเชี่ยวชาญด้านเทคนิค (Technical Expertise)
2.4)  ความเชี่ยวชาญด้านเทคนิค (Technical Expertise) ผู้สอนมีความเชี่ยวชาญในการออกแบบและผลิตสื่อ หรือไม่ ถ้าไม่มีจะไปขอความช่วยเหลือจากใคร )  อุปกรณ์ (Experiment) มีเครื่องมืออุปกรณ์ที่จะใช้ใน การผลิตสื่อหรือไม่ )  สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ (Facilities) มีสิ่งอำนวย ความสะดวกพิเศษเพื่อใช้ในการเตรียม หรือผลิตสื่ออื่น ๆ เช่น มีห้องสตูดิโอ เพื่อผลิตวิดีทัศน์ มีห้องมืดเพื่อผลิต ภาพถ่าย )  เวลา (Time) มีเวลาสำหรับการออกแบบและผลิตสื่อหรือ ไม่

37 4 ) การใช้สื่อการสอน สื่อการสอนจะใช้ประกอบการเรียนการสอนเป็น 3 ลักษณะ คือ 1) ใช้สื่อการสอนประกอบการสอนของผู้สอน 2) ใช้สื่อการสอนเป็นกิจกรรมการเรียนของผู้เรียนโดยตรง 3) ใช้สื่อการสอนเป็นกิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน

38 5 ) การกำหนดพฤติกรรมสนองตอบของผู้เรียน
5 ) การกำหนดพฤติกรรมสนองตอบของผู้เรียน การอภิปราย การให้ทำแบบฝึกหัด การทดสอบ เป็น กิจกรรมการเรียนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดง พฤติกรรมสนองตอบต่อการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี

39 6 ) การประเมินผล เป็นการประเมินผลการเรียนการสอนทั้ง 3 ด้าน คือ การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การประเมินผลระบบการเรียนการสอน และการประเมินผลสื่อและวิธีใช้สื่อ

40 7 ) การปรับปรุงแก้ไข การปรับปรุงแก้ไข เป็นแนวทางหนึ่งในการพัฒนา การใช้สื่อการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

41 ระบบการสอนการนำไปทดลองใช้ (Implementation)

42 การประเมินผล (Evaluation / Control Phase)
ขั้นสุดท้ายของการออกแบบระบบการเรียนการสอน คือการประเมินผล เพราะการประเมินผลจะเป็นเครื่องชี้วัดว่า วงจรของการออกแบบระบบการเรียนการสอนนั้นสมบูรณ์ตามแผนที่วางไว้หรือไม่ การประเมินผลเพื่อปรับปรุงเป็นสิ่งจำเป็นที่สุด การประเมินผล จะอธิบายละเอียดในบทที่ 6

43 สีตรงกันข้ามหรือสีคู่ประกอบ (Opposite color or Complementary color)

44 ผลวิจัยเกี่ยวกับสี 1. นักเรียนจำรายละเอียดจากภาพสีได้เร็วกว่า มากกว่า และนานกว่าภาพขาวดำ 2. สีมีอิทธิพลต่อการเลือกภาพของนักเรียน 3. นักเรียนชอบภาพสีมากกว่าภาพขาวดำและภาพแรเงา 4. นักเรียนชอบภาพสีหลายสีแบบธรรมชาติมากกว่าภาพส เดียวและภาพขาวดำ 5. นักเรียนชอบสีสดๆและหลายๆสีมากกว่าสีเดียว 6. ตัวอักษรสีน้ำเงินบนพื้นขาว เป็นคู่สีที่ช่วยการเรียนรู้ได้มากกว่าสีดำบนพื้นขาว

45 องค์ประกอบทางทัศนภาพ (Visual Design Elements)
การจัดองค์ประกอบภาพและอักษรให้สัมพันธ์กัน องค์ประกอบทางทัศนภาพแบ่งเป็น 3 กลุ่มด้วยกันดังนี้ Heinich องค์ประกอบด้านทัศนภาพ (Visual Design Elements) 2. องค์ประกอบทางทัศนภาพ ( Visual Elements ) 3. องค์ประกอบด้านอักษรหรือข้อความ (Verbal Elements) 4. องค์ประกอบเพิ่มเติมเพื่อช่วยความน่าสนใจ (Elements that add appeal)


ดาวน์โหลด ppt หลักการออกแบบระบบการสอน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google