งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
. ภูมิอากาศ Climate S.E.A. อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP

2 ภูมิอากาศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ South East Asia Climate เป็นอย่างไร

3 3 4 2 6 1 5

4 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - ตั้งอยู่ในร้อนชื้น(Hot and Humid) - ตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ่ม(Monsoons) - ตั้งอยู่ในแนวของพายุไต้ฝุ่น(Typhoons)

5 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ตั้งอยู่ในร้อนชื้น (Hot and Humid) เส้นศูนย์สูตร (Equator)

6 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- และตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ่ม(Monsoons)

7 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ่ม(Monsoons)

8 ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ่ม(Monsoons) ลมมรสุ่มตะวันตกเฉียงใต้ South West Monsoon (SW Monsoon) Heavy rain ลมมรสุ่มตะวันออกเฉียงเหนือ North East Monsoon (NE Monsoon) Cool , Dry

9 ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ่ม(Monsoons)

10 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ่ม(Monsoons)

11 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ่ม(Monsoons) ลมมรสุ่มฤดูหนาว ช่วงเดือน มกราคม นำความหนาวเย็นจากเขตหนาวมายัง S.E.A.

12 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ่ม(Monsoons) ลมมรสุ่มฤดูร้อน ช่วงเดือน กรกฎาคม นำความชื้นจากมหาสมุทรมาสู่แผ่นดิน

13 นำความหนาวเย็นจากเขตหนาว(จีน+ไซบีเรีย) มาสู่ S.E.A.
C C C C C C R R C C R R R R R R R R R R R R R R NE Monsoon ลมมรสุ่มตะวันออกเฉียงเหนือ ( ต.ค. – มี.ค. ) R R นำความหนาวเย็นจากเขตหนาว(จีน+ไซบีเรีย) มาสู่ S.E.A.

14 SW Monsoon ลมมรสุ่มตะวันตกเฉียงใต้ (พ.ค. – ก.ย.)
R R R R R R R R R R R R R R R R R R R R R R R R R R R นำความชื้น(ฝน)จากมหาสมุทรอินเดีย มาสู่ S.E.A.

15 Typhoon พายุไต้ฝุ่น (พ.ค. – ต.ค.)
R+S R R R R+S R+S R R R+S R+S R R+S R R Typhoon พายุไต้ฝุ่น (พ.ค. – ต.ค.) นำความชื้น(ฝน)จากมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลจีนใต้ มาสู่ S.E.A.

16 ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ตั้งอยู่ในแนวของพายุไต้ฝุ่น(Typhoons) พายุไต้ฝุ่นมักก่อตัวในเขตร้อน โดยมีชื่อเรียกต่างกัน ไป เช่น ไต้ฝุ่น ไซโคลน เฮอริเคน เป็นต้น ตามบริเวณที่เกิด

17 ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ตั้งอยู่ในแนวของพายุไต้ฝุ่น(Typhoons) ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ในแนวการพัดผ่านของพายุที่การก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะแลจีนใต้

18 แนวพายุที่สำคัญในทวีปเอเชีย
Pacific ocean ไต้ฝุ่น (Typhoon) ไซโคลน (Cyclone) Indian ocean

19 ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ในแนวการพัดผ่านของพายุที่การก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะแลจีนใต้

20 ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ในแนวการพัดผ่านของพายุที่การก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะแลจีนใต้

21 ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ในแนวการพัดผ่านของพายุที่การก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะแลจีนใต้

22 ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณที่มีความชุกชุมของพายุ

23 ระดับความรุนแรงของพายุ
พายุดีเปรสชั่นเขตร้อน (Tropical depression) ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางไม่ถึง 34 นอต หรือ 63 กม./ชม. มีลักษณะลมกรรโชกแรงเป็นครั้งคราว ซึ่งมีกำลังไม่แรงพอที่จะทำลายบ้านเรือนได้ ทำให้เกิดฝนตกในประเทศได้มาก แต่ถ้ามีพายุดีเปรสชั่นมากๆ ก็จะทำให้เกิดน้ำท่วมได้ พายุโซนร้อน (Tropical storm) ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 34 นอต หรือ 63 กม./ชม.ขึ้นไปแต่ไม่ถึง 63 นอต หรือ 118 กม./ชม. มีกำลังแรงพอที่จะทำลายบ้านเรือนที่มีโครงสร้างไม่แข็งแรงได้ รวมทั้งทำให้กิ่งไม้หักโค่น และทำให้เกิดน้ำท่วมได้ ฝนที่ตกอย่างหนักทั้งวันทั้งคืนอาจทำให้เกิดน้ำป่าและแผ่นดินถล่มได้ ไต้ฝุ่น (Typhoon) ความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางตั้งแต่ 64 นอต หรือ 118 กม./ชม. ขึ้นไป มีความรุนแรงมากที่สุด สามารถทำให้เกิดความเสียหายเช่นเดียวกับพายุโซนร้อนแต่มีความรุนแรงมากกว่า อาจทำให้เสาไฟฟ้าหักโค่น เกิดไฟฟ้าช็อตหรือเพลิงไหม้ได้ ในทะเลมีคลื่นลมแรงจัดมากเป็นอันตรายต่อการเดินเรือ โดยเฉพาะเรือเล็ก และอาจมีคลื่นใหญ่ซัดชายฝั่ง ทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นมากจนท่วมอาคารบ้านเรือนริมทะเลได้

24 ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ในแนวการพัดผ่านของพายุที่การก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะแลจีนใต้

25 ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ซุปเปอร์ไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน (Haiyan) ในฟิลิปปินส์รู้จักกันในชื่อ ไต้ฝุ่นโยลันดา เป็นพายุไต้ฝุ่นที่ทำให้มียอดผู้เสียชีวิตมากที่สุดเป็นอันดับสองจากบันทึกของพายุไต้ฝุ่นที่พัดเข้าโจมตีฟิลิปปินส์ มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 3,976 คน เข้าโจมตีประเทศฟิลิปปินส์ ในวันที่ 6 พ.ย. 2556

26 ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ซุปเปอร์ไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน (Haiyan) ในฟิลิปปินส์รู้จักกันในชื่อ ไต้ฝุ่นโยลันดา ที่พัดเข้าโจมตีฟิลิปปินส์ ในวันที่ 6 พ.ย. 2556

27 ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ซุปเปอร์ไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน (Haiyan) ในฟิลิปปินส์รู้จักกันในชื่อ ไต้ฝุ่นโยลันดา ที่พัดเข้าโจมตีฟิลิปปินส์ ในวันที่ 6 พ.ย. 2556

28 ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ซุปเปอร์ไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน (Haiyan) ในฟิลิปปินส์รู้จักกันในชื่อ ไต้ฝุ่นโยลันดา ที่พัดเข้าโจมตีฟิลิปปินส์ ในวันที่ 6 พ.ย. 2556

29 ภูมิอากาศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ซุปเปอร์ไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน (Haiyan) ในฟิลิปปินส์รู้จักกันในชื่อ ไต้ฝุ่นโยลันดา ที่พัดเข้าโจมตีฟิลิปปินส์ ในวันที่ 6 พ.ย. 2556

30 ลักษณะภูมิอากาศของพม่า
เขตอากาศฝนสลับแห้งแล้ง โดย 1) ได้รับความชื้นอย่างมากจากอิทธิพลของลมมรสุ่มตะวันตกเฉียงใต้(SW Monsoon) ก.ค.-ต.ค. 2) เย็นและแห้งแล้งจากอิทธิพลของลมมรสุ่มตะวันออกเฉียงเหนือ(NE Monsoon) พ.ย.-มี.ค. A B และมีโอกาสที่จะได้รับผลกระทบจากพายุไซโคลนจากมหาสมุทรอินเดีย ดังตัวอย่างที่มีพายุไซโคลนนาร์กีส(Cyclone Nargis) สร้างความเสียหายอย่างหนักให้แก่พม่าในปี 2008 D

31 ลักษณะภูมิอากาศของพม่า
พายุไซโคลนนาร์กีส(Cyclone Nargis) สร้างความเสียหายอย่างหนักให้แก่พม่าในปี 2008 A B D

32 ลักษณะภูมิอากาศของพม่า
พายุไซโคลนนาร์กีส(Cyclone Nargis) สร้างความเสียหายอย่างหนักให้แก่พม่าในปี 2008 A B D

33 ภูมิอากาศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

34 ภูมิอากาศในทวีปเอเชีย

35 ภูมิอากาศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เขต A (ร้อนชื้น) : เขต Tropic Af (ร้อนชื้นเขตศูนย์สูตร) Am (ร้อนชื้นแบบมรสุม) Aw (สะวันนา หรือ ทุ่งหญ้าเมืองร้อน) : เขตป่าฝนเมืองร้อน(Tropical rain forest) : เขตร้อนชื้นสลับแล้ง(Tropical wet and dry)

36 ภูมิอากาศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เขต A (ร้อนชื้น) Af (ร้อนชื้นเขตศูนย์สูตร) Am (ร้อนชื้นแบบมรสุม) Aw (สะวันนา หรือ ทุ่งหญ้าเมืองร้อน)

37 ภูมิอากาศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เขต A (ร้อนชื้น) Af (ร้อนชื้นเขตศูนย์สูตร) Am (ร้อนชื้นแบบมรสุม) Aw (สะวันนา หรือ ทุ่งหญ้าเมืองร้อน) มีฝนมากทั้งปี ป่าไม่ผลัดใบ(Every green forest) ป่าฝนเขตร้อน(ป่าดงดิบ) ป่าไม่พลัดใบ(เขียวชอุ่มทั้งปี) เช่น ป่าดงดิบชื้น(ป่าดงดิบ) ป่าชายเลน ป่าพรุ ช่วงฝน สลับ แล้ง ป่าพลัดใบ เป็นส่วนใหญ่ ฤดูฝน - ใบเขียว ฤดูแล้ง – ผลัดใบ เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าแดง(ป่าโคก) ป่าแพะ

38 เขต A (ร้อนชื้น) Af (ร้อนชื้นเขตศูนย์สูตร) Am (ร้อนชื้นแบบมรสุม) Aw (สะวันนา หรือ ทุ่งหญ้าเมืองร้อน)
มีฝนมากทั้งปี ป่าไม่ผลัดใบ(Every green forest) เช่น ป่าดงดิบชื้น(ป่าดงดิบ) ป่าชายเลน ป่าพรุ ช่วงฝน สลับ แล้ง ป่าพลัดใบ เป็นส่วนใหญ่ เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าแดง(ป่าโคก) ป่าแพะ

39 เขต A (ร้อนชื้น) Af (ร้อนชื้นเขตศูนย์สูตร) Am (ร้อนชื้นแบบมรสุม) Aw (สะวันนา หรือ ทุ่งหญ้าเมืองร้อน)
มีฝนมากทั้งปี เป็นป่าไม่ผลัดใบ(Every green forest) เช่น ป่าดงดิบชื้น(ป่าดงดิบ) ป่าชายเลน ป่าพรุ

40 เขต A (ร้อนชื้น) Af (ร้อนชื้นเขตศูนย์สูตร) Am (ร้อนชื้นแบบมรสุม) Aw (สะวันนา หรือ ทุ่งหญ้าเมืองร้อน)
ช่วงฝน สลับ แล้ง เป็น ป่าพลัดใบ เป็นส่วนใหญ่ เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าแดง(ป่าโคก) ป่าแพะ

41 ภูมิอากาศ เขต A (ร้อนชื้น) Af (ร้อนชื้นเขตศูนย์สูตร) Am (ร้อนชื้นแบบมรสุม) Aw (สะวันนา หรือ ทุ่งหญ้าเมืองร้อน) ไปดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ > About M.1 > เอกสารประกอบการสอน

42 ภูมิอากาศ เขต A (ร้อนชื้น) Af – ส่วนใหญ่หมู่เกาะอินโดนีเซีย Am – เช่นภาคใต้ของไทย Aw – ส่วนใหญ่บนคาบสมุทรอินโดจีน (เช่นภาคเหนือ อีสานของไทย เป็นต้น)


ดาวน์โหลด ppt อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google