แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา ม. ๒ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ กฎหมาย หหน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ พระธรรม เวลา ๕ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๕ ชั่วโมง ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔  ทุกข์: ธรรมที่ควรรู้  สมุทัย: ธรรมที่ควรละ  นิโรธ: ธรรมที่ควรบรรลุ  มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 200

2 ร่วมคิด...ร่วมอภิปราย เหตุการณ์ในข่าวเกิดขึ้นจากสาเหตุใด เมา
เขม่นกัน เพราะไม่ชอบหน้า ครูนำข่าวจากหนังสือพิมพ์ วิทยุ หรือโทรทัศน์เรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น ข่าวการทะเลาะวิวาทและทำร้ายร่างกายกัน มาเล่าให้นักเรียนฟัง แล้วซักถามนักเรียน ครูคลิกเพื่อแสดงคำถามว่า เหตุการณ์ในข่าวเกิดขึ้นจากสาเหตุใด ให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย ครูคลิกเพื่อแสดงคำตอบ ครูคลิกเพื่อแสดงคำถามว่า ปัญหานี้แก้ไขได้ถ้าเรานำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาข้อใดมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติตน ให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย ครูคลิกเพื่อแสดงคำตอบ แล้วอธิบายเพิ่มเติมเพื่อโยงเข้าสู่บทเรียน ปัญหานี้แก้ไขได้ถ้าเรานำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาข้อใดมาเป็นแนวทาง ในการปฏิบัติตน สติ ศีล ๕ ฆราวาสธรรม ๔ 201

3 ๑.๒ อริยสัจ ๔ ทุกข์ ความโศกเศร้าเสียใจ สมุทัย นิโรธ มรรค
 เป็นหลักธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบ  เป็นหลักความจริงอันประเสริฐนำไปสู่การดับทุกข์  มี ๔ ประการ ได้แก่ ทุกข์ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ ความโศกเศร้าเสียใจ เป็นสภาวะที่จะต้องกำหนดรู้ หลักธรรมที่สำคัญ คือ อายตนะ สมุทัย ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมายและประเภทของอริยสัจ ๔ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด นิโรธ มรรค 202

4 ตัณหา ๓ ประการ คือ กามตัณหา ความอยากได้อยากมี ภวตัณหา ความอยากเป็น และ
๑.๒ อริยสัจ ๔  เป็นหลักธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบ  เป็นหลักความจริงอันประเสริฐนำไปสู่การดับทุกข์  มี ๔ ประการ ได้แก่ สาเหตุที่ทำให้เกิดความทุกข์ ได้แก่ ตัณหา ๓ ประการ คือ กามตัณหา ความอยากได้อยากมี ภวตัณหา ความอยากเป็น และ วิภวตัณหา ความไม่อยากเป็น เป็นสภาวะที่ต้องละ หลักธรรมที่สำคัญ คือ หลักกรรม (สมบัติ ๔–วิบัติ ๔) อกุศลกรรมบถ ๑๐ อบายมุข ๔ ทุกข์ สมุทัย ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมายและประเภทของอริยสัจ ๔ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด นิโรธ มรรค 203

5 เกิดจากการปฏิบัติตามมรรค ๘ ประการ
๑.๒ อริยสัจ ๔  เป็นหลักธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบ  เป็นหลักความจริงอันประเสริฐนำไปสู่การดับทุกข์  มี ๔ ประการ ได้แก่ ทุกข์ ความดับทุกข์ สภาวะที่ความทุกข์หมดสิ้นไป เกิดจากการปฏิบัติตามมรรค ๘ ประการ เป็นสภาวะที่ต้องบรรลุ หลักธรรมที่สำคัญ คือ สุข ๒ (สามิสสุข–นิรามิสสุข) สมุทัย ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมายและประเภทของอริยสัจ ๔ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด นิโรธ มรรค 204

6 ให้ถึงความดับทุกข์ ๘ ประการ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น
๑.๒ อริยสัจ ๔  เป็นหลักธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบ  เป็นหลักความจริงอันประเสริฐนำไปสู่การดับทุกข์  มี ๔ ประการ ได้แก่ ข้อปฏิบัติหรือแนวทางที่เป็นเหตุ ให้ถึงความดับทุกข์ ๘ ประการ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น เป็นสภาวะที่ต้องเจริญหรือทำให้มีขึ้น หลักธรรมที่สำคัญ คือ สติปัฏฐาน ๔ กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ ดรุณธรรม ๖ บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา ๗ กุศลกรรมบถ ๑๐ มงคล ๓๘ ทุกข์ สมุทัย ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมายและประเภทของอริยสัจ ๔ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด นิโรธ มรรค 205

7 อายตนะ หมายถึง เครื่องรับรู้และสิ่งที่ถูกรู้ เช่น ตาเป็นเครื่องรับรู้
๑.๒ อริยสัจ ๔ ทุกข์: ธรรมที่ควรรู้ อายตนะ อายตนะ หมายถึง เครื่องรับรู้และสิ่งที่ถูกรู้ เช่น ตาเป็นเครื่องรับรู้ รูปเป็นสิ่งที่ถูกรู้ หูเป็นเครื่องรับรู้เสียง เสียงเป็นสิ่งที่ถูกรู้ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของทุกข์: ธรรมที่ควรรู้ (อายตนะ) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด อายตนะภายใน ๖ อายตนะภายนอก ๖ 206

8 เพราะทำหน้าที่หลัก ๆ เช่น ตาทำหน้าที่การมองเห็น
๑.๒ อริยสัจ ๔ ทุกข์: ธรรมที่ควรรู้ อายตนะ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า อายตนะภายใน อินทรีย์ ๖ เพราะทำหน้าที่หลัก ๆ เช่น ตาทำหน้าที่การมองเห็น ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของทุกข์: ธรรมที่ควรรู้ (อายตนะ) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด อายตนะภายนอก อารมณ์ ๖ เพราะเป็นสิ่งที่ถูกรู้ 207

9 (เครื่องรับรู้/เครื่องติดต่อภายใน) (สิ่งที่ถูกรู้/เครื่องติดต่อภายนอก)
๑.๒ อริยสัจ ๔ ทุกข์: ธรรมที่ควรรู้ อายตนะ อายตนะภายใน (เครื่องรับรู้/เครื่องติดต่อภายใน) อายตนะภายนอก (สิ่งที่ถูกรู้/เครื่องติดต่อภายนอก) ๑. ตา (จักขุ) ๑. รูป (รูปะ) ๒. หู (โสตะ) ๒. เสียง (สัททะ) ๓. จมูก (ฆานะ) ๓. กลิ่น (คันธะ) ๔. ลิ้น (ชิวหา) ๔. รส (รสะ) ๕. กาย (กาย) ๕. สัมผัสทางกาย (โผฏฐัพพะ) ๖. ใจ (มโน) ๖. สิ่งที่รู้ใจ (ธรรมารมณ์) ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของทุกข์: ธรรมที่ควรรู้ (อายตนะ) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 208

10 เมื่ออายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางอารมณ์)
๑.๒ อริยสัจ ๔ ทุกข์:ธรรมที่ควรรู้ อายตนะ เมื่ออายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวิญญาณ (ความรู้แจ้งทางอารมณ์) มาประจวบกันที่เรียกว่า ผัสสะ ทำให้เกิดความรู้สึกที่เรียกว่า เวทนา ซึ่งมีทั้งสุข และทุกข์ ตา รูปที่ชอบใจ จักขุวิญญาณ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของทุกข์: ธรรมที่ควรรู้ (อายตนะ) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด เวทนา (สุข) ผัสสะ รูปที่ไม่ชอบใจ เวทนา (ทุกข์) ผัสสะ จักขุวิญญาณ 209

11 หลักกรรมหรือกฎแห่งกรรมมีว่า “ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว”
๑.๒ อริยสัจ ๔ สมุทัย: ธรรมที่ควรละ ๑. หลักกรรม หลักกรรม เป็นหลักคำสอนที่สำคัญข้อหนึ่งในพระพุทธศาสนา เกี่ยวข้องกับ การดำรงชีวิตของคนเรา กรรม หมายถึง การกระทำที่ประกอบด้วยเจตนา ก่อให้เกิดผลดีหรือผลชั่วทางศีลธรรม หลักกรรมหรือกฎแห่งกรรมมีว่า “ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว” กรรมจะให้ผลดีหรือผลชั่วขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ ๔ อย่าง ที่เรียกว่า สมบัติ ๔–วิบัติ ๔ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของสมุทัย: ธรรมที่ควรละ (๑. หลักกรรม) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 210

12 ๑.๒ อริยสัจ ๔ สมุทัย: ธรรมที่ควรละ ๑. หลักกรรม
คือ ข้อดีหรือจุดแข็ง หมายถึง องค์ประกอบต่าง ๆ ที่ช่วยส่งเสริมกรรมให้ปรากฏผลดีชัดยิ่งขึ้น สมบัติ คือ ข้อเสียหรือจุดอ่อน หมายถึง ความบกพร่องแห่งองค์ประกอบต่าง ๆ ซึ่งไม่อำนวยให้กรรมปรากฏผลดีแต่กลับทำให้ปรากฏผลชั่ว วิบัติ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของสมุทัย: ธรรมที่ควรละ (๑. หลักกรรม) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 211

13 สมบัติ ๔ วิบัติ ๔ ๑.๒ อริยสัจ ๔ สมุทัย: ธรรมที่ควรละ ๑. หลักกรรม
๑. คติสมบัติ คือ สถานที่เหมาะและเกื้อกูล ๑. คติวิบัติ คือ สถานที่ไม่เหมาะและเกื้อกูล ๒. อุปธิสมบัติ คือ การมีบุคลิกภาพที่ดี ๒. อุปธิวิบัติ คือ การมีบุคลิกภาพบกพร่อง ๓. กาลสมบัติ คือ การทำอะไรที่ถูกกาลเวลา ๓. กาลวิบัติ คือ การทำอะไรที่ไม่ถูก กาลเวลา ๔. ปโยคสมบัติ คือ ความสมบูรณ์ของเรื่องที่ทำ ๔. ปโยควิบัติ คือ เรื่องที่ทำบกพร่อง ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของสมุทัย: ธรรมที่ควรละ (๑. หลักกรรม) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 212

14 ถ้ามีองค์ประกอบครบสมบูรณ์ สมบัติ ๔ ทำดีได้ดี
๑.๒ อริยสัจ ๔ สมุทัย: ธรรมที่ควรละ ๑. หลักกรรม ถ้ามีองค์ประกอบครบสมบูรณ์ สมบัติ ๔ ทำดีได้ดี ถ้าบกพร่ององค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่ง ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของสมุทัย: ธรรมที่ควรละ (๑. หลักกรรม) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ทำดีได้ดีมีที่ไหนทำชั่วได้ดีมีถมไป วิบัติ ๔ 213

15 ๑.๒ อริยสัจ ๔ สมุทัย: ธรรมที่ควรละ ๒. อกุศลกรรมบถ ๑๐
อกุศลกรรมบถ หมายถึง ทางทำความชั่ว หรือกรรมชั่วที่ทำให้เกิดความทุกข์และความเดือดร้อน มี ๑๐ ประการ แบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม ได้แก่ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของสมุทัย: ธรรมที่ควรละ (๒. อกุศลกรรมบถ ๑๐) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด กายกรรม ๓ (การกระทำทางกาย) วจีกรรม ๔ (การกระทำทางวาจา) มโนกรรม ๓ (การกระทำทางใจ) 214

16 ๒. การลักขโมย ฉ้อโกงทรัพย์สินสิ่งของของผู้อื่น
๑.๒ อริยสัจ ๔ สมุทัย: ธรรมที่ควรละ ๒. อกุศลกรรมบถ ๑๐ ๒. การลักขโมย ฉ้อโกงทรัพย์สินสิ่งของของผู้อื่น ๑. การฆ่า เบียดเบียน หรือรังแกคนและสัตว์ กายกรรม ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของสมุทัย: ธรรมที่ควรละ (๒. อกุศลกรรมบถ ๑๐) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๓. การล่วงเกินลูกเมียและของรักของผู้อื่น 215

17 ๖. การพูดส่อเสียดให้ผู้อื่นแตกสามัคคีกัน
๑.๒ อริยสัจ ๔ สมุทัย: ธรรมที่ควรละ ๒. อกุศลกรรมบถ ๑๐ ๔. การพูดโกหกหลอกลวง ๕. การพูดคำหยาบ แช่งด่า วจีกรรม ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของสมุทัย: ธรรมที่ควรละ (๒. อกุศลกรรมบถ ๑๐) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๖. การพูดส่อเสียดให้ผู้อื่นแตกสามัคคีกัน ๗. การพูดเพ้อเจ้อ เหลวไหล ไร้สาระ 216

18 ๘. ความโลภอยากได้ของผู้อื่น
๑.๒ อริยสัจ ๔ สมุทัย: ธรรมที่ควรละ ๒. อกุศลกรรมบถ ๑๐ ๘. ความโลภอยากได้ของผู้อื่น มโนกรรม ๑๐. ความหลงผิด มีความเห็นผิดจากครรลองคลองธรรม ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของสมุทัย: ธรรมที่ควรละ (๒. อกุศลกรรมบถ ๑๐) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด พฤติกรรมทั้ง ๑๐ ประการนี้ไม่ควรทำ เพราะจะมีแต่จะก่อให้เกิดความทุกข์และ ความเดือดร้อนแก่ตนเอง ผู้อื่น และสังคม ๙. ความคิดอาฆาต พยาบาท ปองร้าย 217

19 อบายมุข หมายถึง หนทางสู่ความเสื่อมและความพินาศของทรัพย์สมบัติและตนเอง
๑.๒ อริยสัจ ๔ สมุทัย: ธรรมที่ควรละ ๓. อบายมุข ๔ อบายมุข หมายถึง หนทางสู่ความเสื่อมและความพินาศของทรัพย์สมบัติและตนเอง มี ๔ ประการ ได้แก่ ๑. การเป็นนักเลงหญิง ซึ่งรวมถึงนักเลงชายด้วย จัดเป็นอบายมุข เพราะเป็นการปล่อยตัวให้หมกมุ่นเรื่องเพศ มีผลเสีย/โทษ เช่น * ทำให้เสียเงินทอง * เป็นบ่อเกิดโรคต่าง ๆ * หากมีครอบครัว ก็อาจจะเป็นเหตุให้ทะเลาะวิวาทกัน ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของสมุทัย: ธรรมที่ควรละ (๓. อบายมุข ๔) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 218

20 * ทำให้เสียสุขภาพ เป็นบ่อเกิดของโรค
๑.๒ อริยสัจ ๔ สมุทัย: ธรรมที่ควรละ ๓. อบายมุข ๔ อบายมุข หมายถึง หนทางสู่ความเสื่อมและความพินาศของทรัพย์สมบัติและตนเอง มี ๔ ประการ ได้แก่ ๒. การเป็นนักเลงสุรา จัดเป็นอบายมุข เพราะสุราหรือเหล้าเป็นสิ่งเสพติดชนิดหนึ่ง การดื่มสุราจนติดมีผลเสีย/โทษ คือ * ทำให้เสียเงินทอง * ทำให้เสียสุขภาพ เป็นบ่อเกิดของโรค * ก่อให้เกิดอุบัติเหตุ เป็นเหตุการทะเลาะ * เป็นเหตุให้ทำผิดศีลข้ออื่นได้ง่าย * บั่นทอนสติปัญญา ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของสมุทัย: ธรรมที่ควรละ (๓. อบายมุข ๔) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 219

21 อบายมุข หมายถึง หนทางสู่ความเสื่อมและความพินาศของทรัพย์สมบัติและตนเอง
๑.๒ อริยสัจ ๔ สมุทัย: ธรรมที่ควรละ ๓. อบายมุข ๔ อบายมุข หมายถึง หนทางสู่ความเสื่อมและความพินาศของทรัพย์สมบัติและตนเอง มี ๔ ประการ ได้แก่ ๓. การเป็นนักเลงการพนัน คือ การชอบเล่นพนันเป็นชีวิตจิตใจ จัดเป็นอบายมุข เพราะนอกจากจะทำให้เสียเงินทองแล้ว ยังมีผลเสีย/โทษอื่น ๆ อีก เช่น * เป็นการก่อเวรซึ่งกันและกัน เพราะเมื่อเล่นไปแล้วชนะผู้ที่แพ้ก็ไม่พอใจ * ไม่มีใครเชื่อถือ ไว้วางใจ หรืออยากคบหาด้วย * เป็นที่ดูถูกของผู้อื่น ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของสมุทัย: ธรรมที่ควรละ (๓. อบายมุข ๔) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 220

22 ผู้ที่หวังความสุขความเจริญ ควรหลีกเลี่ยง
๑.๒ อริยสัจ ๔ สมุทัย: ธรรมที่ควรละ ๓. อบายมุข ๔ อบายมุข หมายถึง หนทางสู่ความเสื่อมและความพินาศของทรัพย์สมบัติและตนเอง มี ๔ ประการ ได้แก่ ๔. การคบคนชั่วเป็นมิตร จัดเป็นอบายมุข เพราะมีผลเสีย/โทษ เช่น * ถูกแนะนำชักจูงไปในทางที่ไม่ดี มีแต่จะนำความเดือดร้อนมาให้ * ทำให้ไม่มีใครอยากคบหาด้วย * เป็นเหตุให้ผู้ที่คบหาสมาคมด้วยสามารถหลงติดอยู่ในอบายมุขทั้ง ๓ ประการ ข้างต้นด้วย ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของสมุทัย: ธรรมที่ควรละ (๓. อบายมุข ๔) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ผู้ที่หวังความสุขความเจริญ ควรหลีกเลี่ยง จากอบายมุข ๔ ให้ไกล ๆ 221

23 นิโรธ: ธรรมที่ควรบรรลุ
๑.๒ อริยสัจ ๔ นิโรธ: ธรรมที่ควรบรรลุ สุข ๒ สุข คือ ความสุข หมายถึง ความสบายกาย ความสบายใจ เป็นสิ่งที่ทุกคนต้องการ ความสุขมีหลายประเภท เช่น สามิสสุขและนิรามิสสุข ๑. สามิสสุข หมายถึง ความสุขที่เกิดจากกามคุณ ๕ ได้แก่ การได้เห็นรูปสวยงาม การได้ฟังเสียงไพเราะ การได้สูดกลิ่นหอม การได้ชิมรสอร่อย และการได้สัมผัสทางกายที่อ่อนละมุน น่าปรารถนา น่าพอใจ สามิสสุข คือ ความสุขที่ต้องขึ้นกับอารมณ์ภายนอก หรือกามคุณ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของนิโรธ: ธรรมที่ควรบรรลุ (สุข ๒) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 222

24 นิโรธ: ธรรมที่ควรบรรลุ
๑.๒ อริยสัจ ๔ นิโรธ: ธรรมที่ควรบรรลุ สุข ๒ สุข คือ ความสุข หมายถึง ความสบายกาย ความสบายใจ เป็นสิ่งที่ทุกคนต้องการ ความสุขมีหลายประเภท เช่น สามิสสุขและนิรามิสสุข ๒. นิรามิสสุข หมายถึง ความสุขที่ไม่ต้องอาศัยเครื่องล่อหรือกามคุณ เป็นความสุขที่ปลอดโปร่งเพราะใจสงบหรือรู้แจ้งชัดในสิ่งต่าง ๆ ตามความเป็นจริง เช่น ความสุขของพระอรหันต์ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของนิโรธ: ธรรมที่ควรบรรลุ (สุข ๒) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 223

25 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๑. สติปัฏฐาน ๔
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๑. สติปัฏฐาน ๔ สติปัฏฐาน หมายถึง ข้อปฏิบัติที่เป็นที่ตั้งแห่งสติ หรือการตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งต่าง ๆ ให้รู้เท่าทันและเข้าใจตามที่เป็นจริง มี ๔ ประการ ได้แก่ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๑. สติปัฏฐาน ๔) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน จิตตานุปัสสนา สติปัฏฐาน ธัมมานุปัสสนา สติปัฏฐาน เวทนานุปัสสนา สติปัฏฐาน 224

26 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๑. สติปัฏฐาน ๔
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๑. สติปัฏฐาน ๔ สติปัฏฐาน หมายถึง ข้อปฏิบัติที่เป็นที่ตั้งแห่งสติ หรือการตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งต่าง ๆ ให้รู้เท่าทันและเข้าใจตามที่เป็นจริง มี ๔ ประการ ได้แก่ ๑. กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน หมายถึง การตั้งสติกำหนดพิจารณากายในอิริยาบถต่าง ๆ เพื่อให้รู้เท่าทันและเข้าใจตามความเป็นจริงว่า กายนี้ไม่มีตัวตนที่แท้จริง ไม่ใช่ของเรา เราบังคับไม่ได้ ต้องมีแก่ เจ็บ ตาย ไปตามกาลเวลา ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๑. สติปัฏฐาน ๔) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 225

27 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๑. สติปัฏฐาน ๔
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๑. สติปัฏฐาน ๔ สติปัฏฐาน หมายถึง ข้อปฏิบัติที่เป็นที่ตั้งแห่งสติ หรือการตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งต่าง ๆ ให้รู้เท่าทันและเข้าใจตามที่เป็นจริง มี ๔ ประการ ได้แก่ ๒. เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน หมายถึง การตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนา คือ ความสุข ความทุกข์ หรือความเฉย ๆ ที่เกิดขึ้นในขณะนั้นอย่างรู้เท่าทัน เช่น ในขณะนั่งเมื่อเกิดความปวดเมื่อยเป็นความทุกข์ ก็ตั้งสติกำหนดพิจารณาความทุกข์นั้น ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๑. สติปัฏฐาน ๔) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 226

28 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๑. สติปัฏฐาน ๔
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๑. สติปัฏฐาน ๔ สติปัฏฐาน หมายถึง ข้อปฏิบัติที่เป็นที่ตั้งแห่งสติ หรือการตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งต่าง ๆ ให้รู้เท่าทันและเข้าใจตามที่เป็นจริง มี ๔ ประการ ได้แก่ ๓. จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน หมายถึง การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต เพื่อให้รู้เท่าทันถึงสภาพหรืออาการของจิตว่า จิตใจขณะนั้นเป็นอย่างไร มีความขุ่นมัว หดหู่ ฟุ้งซ่าน เกียจคร้าน หรือขยัน ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๑. สติปัฏฐาน ๔) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 227

29 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๑. สติปัฏฐาน ๔
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๑. สติปัฏฐาน ๔ สติปัฏฐาน หมายถึง ข้อปฏิบัติที่เป็นที่ตั้งแห่งสติ หรือการตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งต่าง ๆ ให้รู้เท่าทันและเข้าใจตามที่เป็นจริง มี ๔ ประการ ได้แก่ ๔. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน หมายถึง การตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรมที่เป็นกุศล (ฝ่ายดี) หรือเป็นอกุศล (ฝ่ายชั่ว) ซึ่งเกิดขึ้นกับใจว่า ธรรมทั้งหลายอาศัยเหตุปัจจัยเกิดขึ้น เมื่อเหตุปัจจัยดับไป ธรรมเหล่านั้นก็ดับไปด้วย ไม่มีสิ่งใดมีตัวตนที่แท้จริง ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๑. สติปัฏฐาน ๔) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด เราควรนำสติปัฏฐาน ๔ มาปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ จึงจะมีสติสมบูรณ์และไม่ประมาทในการดำเนินชีวิต 228

30 อ่านเรื่องแล้ววิเคราะห์ตามประเด็นที่กำหนด
๑. เนวินถูกพ่อลงโทษ เนื่องจากไปเล่นการพนันกับเพื่อน วันต่อมาเนวินถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจจับในข้อหาเล่นการพนัน ประเด็นวิเคราะห์: แก้ปัญหาของเนวินตามหลักอริยสัจ ๔ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ๑. ถูกพ่อลงโทษ ๑. คบเพื่อนชั่ว ๑. พ่อไม่ลงโทษ ๑. ต้องเลิกคบ เพื่อนชั่ว ๑) ครูให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมที่ ๘ เรียนรู้เรื่อง อริยสัจ ๔ และทุกข์: ธรรมที่ควรรู้ จากหนังสือแบบฝึกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๒) ครูคลิกเพื่อเฉลยคำตอบ ๒. ถูกเจ้าหน้าที่ ตำรวจจับ ๒. เล่นการพนัน ๒. ไม่ถูกเจ้าหน้าที่ ตำรวจจับ ๒. ต้องเลิกเล่น การพนัน 229

31 ประเด็นวิเคราะห์: เรื่องนี้สอดคล้องกับอายตนะอย่างไร
๒. แต้วเป็นนักร้องที่มีชื่อเสียง มีน้ำเสียงไพเราะและหน้าตาดี จึงเป็นที่ชื่นชอบของคนทุกวัย แต่ปัจจุบันแต้วป่วยเป็นมะเร็งระยะสุดท้าย ทำให้แต้วรู้ว่า รูปร่างหน้าตาและชื่อเสียงนั้นไม่ยั่งยืน คนที่เคย รักเคยหลงใหลค่อย ๆ ห่างหายไป แต่แต้วก็พยายามอดทนเพื่อต่อสู้กับโรคร้ายด้วยจิตใจที่เข้มแข็ง ประเด็นวิเคราะห์: เรื่องนี้สอดคล้องกับอายตนะอย่างไร รูป (รูปะ) และกาย (กายะ) ที่เคยแข็งแรง รูปร่างหน้าตาดี เสียง (สัททะ) ที่เคยไพเราะ ใจ (มโน) ที่เคยพองโตด้วยเสียงชื่นชมต้องเปลี่ยนแปลง เมื่อทุกอย่างเปลี่ยนแปลงไปในทางตรงข้ามจึงทำให้เกิดความทุกข์ ๑) ครูให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมที่ ๘ เรียนรู้เรื่อง อริยสัจ ๔ และทุกข์: ธรรมที่ควรรู้ จากหนังสือแบบฝึกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๒) ครูคลิกเพื่อเฉลยคำตอบ 230

32 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๒. กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ กุลจิรัฏฐิติธรรม หมายถึง ข้อปฏิบัติสำหรับการรักษาวงศ์ตระกูลให้ดำรงอยู่ได้นาน มี ๔ ประการ ได้แก่ ๑. การแสวงหาวัตถุที่หายไป หมายถึง ปัจจัย ๔ ของครอบครัวหายหรือหมดไป สมาชิกในครอบครัวจะต้องช่วยกันจัดหามาทดแทน ซึ่งปัจจัย ๔ นี้ต้องมีเงินซื้อหามา ดังนั้น หัวหน้าครอบครัวซึ่งมีหน้าที่หาเงินมาใช้จ่ายในครอบครัวต้องประกอบอาชีพสุจริต เพื่อสร้างความดีงามต่อวงศ์ตระกูล ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๒. กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 231

33 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๒. กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ กุลจิรัฏฐิติธรรม หมายถึง ข้อปฏิบัติสำหรับการรักษาวงศ์ตระกูลให้ดำรงอยู่ได้นาน มี ๔ ประการ ได้แก่ ๒. การบูรณะซ่อมแซมสิ่งต่าง ๆ ที่ชำรุด หมายถึง สิ่งของที่ชำรุดทรุดโทรมต้องรู้จักซ่อมแซมให้ใช้การได้ การบูรณะซ่อมแซมสิ่งต่าง ๆ ภายในบ้านเป็นหน้าที่ของสมาชิกในบ้านทุกคน ไม่ควรคิดว่าไม่ใช่หน้าที่ของตน แต่ควรสามัคคีกันและร่วมมือซ่อมแซมของที่ชำรุดอย่างเต็มใจ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๒. กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 232

34 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๒. กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ กุลจิรัฏฐิติธรรม หมายถึง ข้อปฏิบัติสำหรับการรักษาวงศ์ตระกูลให้ดำรงอยู่ได้นาน มี ๔ ประการ ได้แก่ ๓. การรู้จักประมาณในการใช้จ่าย หมายถึง การรู้จักประหยัด รู้จักกิน รู้จักใช้ หัวหน้าครอบครัวต้องรู้ว่าอะไรควรจ่าย ไม่ควรจ่าย ไม่ก่อหนี้สินล้นพ้นตัว สมาชิกในครอบครัวก็ต้องช่วยกันประหยัดค่าใช้จ่ายด้วยเช่นกัน ครอบครัวจะมีความสุข ถ้าทุกคนรู้จักประมาณในการใช้จ่าย ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๒. กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 233

35 ๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๒. กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ กุลจิรัฏฐิติธรรม หมายถึง ข้อปฏิบัติสำหรับการรักษาวงศ์ตระกูลให้ดำรงอยู่ได้นาน มี ๔ ประการ ได้แก่ ๔. การตั้งคนมีศีลธรรมเป็นพ่อบ้านแม่เรือน หมายถึง การมีหัวหน้าครอบครัวหรือพ่อบ้านแม่เรือนที่เป็นคนดีมีศีลธรรม ครอบครัวประกอบสุจริต มีความขยันหมั่นเพียร ตั้งอยู่ในความถูกต้องตามทำนองคลองธรรม และสามารถสืบทอดวงศ์ตระกูลให้เจริญก้าวหน้าต่อไปได้ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๒. กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด หัวหน้าครอบครัวใดไม่มีศีลธรรม ครอบครัวนั้นจะมีแต่หายนะ 234

36 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๓. ดรุณธรรม ๖ ดรุณธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นหนทางแห่งความสำเร็จ และความเจริญก้าวหน้า มี ๖ ประการ ได้แก่ ๑. รักษาสุขภาพดีมิให้มีโรคทั้งจิตและกาย (อาโรคยะ) โดยหมั่นบริหารกายให้มีสุขภาพแข็งแรงด้วยการออกกำลังกายและรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และบริหารจิตให้มีสุขภาพจิตที่ดีด้วยการฝึกสมาธิ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๓. ดรุณธรรม ๖) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 235

37 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๓. ดรุณธรรม ๖ ดรุณธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นหนทางแห่งความสำเร็จ และความเจริญก้าวหน้า มี ๖ ประการ ได้แก่ ๒. มีระเบียบวินัย (ศีล) โดยไม่ก่อเวรภัยแก่ผู้อื่นและสังคม รู้จักให้อภัย ไม่อาฆาตพยาบาท ไม่สร้างความหวาดกลัวแก่ผู้อื่น ประพฤติตนให้เป็นประโยชน์ทั้งแก่ตนเอง ผู้อื่น และสังคม ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๓. ดรุณธรรม ๖) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 236

38 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๓. ดรุณธรรม ๖ ดรุณธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นหนทางแห่งความสำเร็จ และความเจริญก้าวหน้า มี ๖ ประการ ได้แก่ ๓. ได้คนดีเป็นแบบอย่าง (พุทธานุมัติ) คนดี คือ คนมีปัญญา คนมีคุณธรรม ซึ่งเรียกว่า บัณฑิตหรือสัตบุรุษ การศึกษาแบบอย่างหรือแนวทางจากบัณฑิตหรือสัตบุรุษและยึดถือปฏิบัติตามแบบอย่างนั้น จะช่วยสนับสนุนเกื้อกูลให้การดำเนินชีวิตเจริญก้าวหน้าไปได้ด้วยดี ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๓. ดรุณธรรม ๖) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 237

39 ๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๓. ดรุณธรรม ๖ ดรุณธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นหนทางแห่งความสำเร็จ และความเจริญก้าวหน้า มี ๖ ประการ ได้แก่ ๔. ตั้งใจเรียนรู้ให้จริง (สุตะ) โดยการแสวงหาความรู้ให้มากและให้รู้ทันต่อเหตุการณ์ โดย “เรียนจากครู ดูจากตำรับ สดับปาฐะ” คนที่มีความรู้ได้ชื่อว่า เป็นพหูสูต ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๓. ดรุณธรรม ๖) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ความเป็นพหูสูตคือต้นทางแห่งปัญญา เป็นกุญแจไขไปสู่ความสำเร็จของชีวิต 238

40 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๓. ดรุณธรรม ๖ ดรุณธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นหนทางแห่งความสำเร็จ และความเจริญก้าวหน้า มี ๖ ประการ ได้แก่ ๕. ทำแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงาม (ธรรมานุวัติ) ดำรงมั่นอยู่ในความสุจริต ทั้งชีวิตและการงานดำเนินตามธรรม อันได้แก่ กุศลกรรมบถ ๑๐ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๓. ดรุณธรรม ๖) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 239

41 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๓. ดรุณธรรม ๖ ดรุณธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นหนทางแห่งความสำเร็จ และความเจริญก้าวหน้า มี ๖ ประการ ได้แก่ ๖. มีความขยันหมั่นเพียร (อลีนตา) มีกำลังใจแข็งกล้า อดทน เอาธุระ ไม่ท้อแท้เฉื่อยชา ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๓. ดรุณธรรม ๖) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ความขยันหมั่นเพียรเป็นหลักปฏิบัติขั้นพื้นฐานที่สำคัญของการทำงาน การศึกษาเล่าเรียน และการทำกิจกรรมต่าง ๆ ผู้ที่ไม่มีความขยันหมั่นเพียรย่อมจะประสบกับความล้มเหลวไม่มีทางสร้างฐานะให้มั่นคงได้ 240

42 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๔. บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา ๗
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๔. บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา ๗ บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา หมายถึง ธรรมที่เกิดขึ้นหรือปรากฏขึ้นก่อนมัชฌิมาปฏิปทา มี ๗ ประการ ได้แก่ การมีกัลยาณมิตร (กัลยาณมิตตตา) คือ การมีเพื่อนที่ดีที่แนะนำประโยชน์ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๔. บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา ๗) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ความถึงพร้อมด้วยศีล (สีลสัมปทา) คือ การมีวินัยในชีวิตของตนและ ในการอยู่ร่วมกันในสังคม ความถึงพร้อมด้วยฉันทะ (ฉันทสัมปทา) คือ ความพอใจใฝ่รักในปัญญา ในจริยธรรม ในความจริง และในความดี 241

43 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๔. บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา ๗
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๔. บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา ๗ บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา หมายถึง ธรรมที่เกิดขึ้นหรือปรากฏขึ้นก่อนมัชฌิมาปฏิปทา มี ๗ ประการ ได้แก่ ความถึงพร้อมด้วยการที่จะฝึกฝนและพัฒนาตนเอง (อัตตสัมปทา) คือ การเห็นความสำคัญของการที่จะต้องฝึกฝน อบรม และพัฒนาตนเองให้ดียิ่งขึ้น ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๔. บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา ๗) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ความถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ (ทิฏฐิสัมปทา) คือ การยึดถือ เชื่อถือในหลักการ มีความเห็นและความเข้าใจในพื้นฐานที่มองเห็นสิ่งทั้งหลายตามเหตุปัจจัย 242

44 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๔. บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา ๗
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๔. บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา ๗ บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา หมายถึง ธรรมที่เกิดขึ้นหรือปรากฏขึ้นก่อนมัชฌิมาปฏิปทา มี ๗ ประการ ได้แก่ ความถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท (อัปปมาทสัมปทา) คือ การมีความกระตือรือร้นอยู่เสมอ เห็นคุณค่าของกาลเวลา คอยกระตุ้นเตือนให้ทำ ชีวิตดีงามอยู่เสมอ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๔. บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา ๗) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด การรู้จักใช้ความคิดที่ถูกวิธี (โยนิโสมนสิการ) คือ การรู้จักคิด พิจารณา และมองสิ่งทั้งหลายให้ได้ความรู้และประโยชน์เพื่อนำมาใช้พัฒนาตนเองให้ก้าวหน้ายิ่ง ๆ ขึ้นไป 243

45 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๕. กุศลกรรมบถ ๑๐ กุศลกรรมบถ หมายถึง การทำความดีที่นำไปสู่ความสุข มี ๑๐ ประการ แบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม ๑. กายกรรม (การกระทำทางกาย) มี ๓ ประการ ได้แก่ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๕. กุศลกรรมบถ ๑๐) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๑) เว้นจากการฆ่า เบียดเบียน ทรมานหรือรังแกผู้อื่น ควรมีเมตตากรุณา ๒) เว้นจากการลักทรัพย์ ควรตั้งอยู่ในสัมมาชีพ ๓) เว้นจากการประพฤติผิดในกาม ควรเคารพสิทธิของกันและกัน 244

46 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๕. กุศลกรรมบถ ๑๐ กุศลกรรมบถ หมายถึง การทำความดีที่นำไปสู่ความสุข มี ๑๐ ประการ แบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม ๒. วจีกรรม (การกระทำทางวาจา) มี ๔ ประการ ได้แก่ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๕. กุศลกรรมบถ ๑๐) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๔) เว้นจากการพูดเท็จ ควรพูดแต่ความจริง ๕) เว้นจากการพูดคำหยาบ ควรพูดแต่คำไพเราะอ่อนหวาน ฟังแล้วเป็นที่ชื่นชม 245

47 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๕. กุศลกรรมบถ ๑๐ กุศลกรรมบถ หมายถึง การทำความดีที่นำไปสู่ความสุข มี ๑๐ ประการ แบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม ๒. วจีกรรม (การกระทำทางวาจา) มี ๔ ประการ ได้แก่ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๕. กุศลกรรมบถ ๑๐) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๖) เว้นจากการพูดส่อเสียด ควรพูดถ้อยคำที่ก่อให้เกิดความรักและความสามัคคี ๗) เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ ควรพูดแต่ถ้อยคำที่มีหลักฐานอ้างอิง ถูกกาลเวลา มีประโยชน์ 246

48 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๕. กุศลกรรมบถ ๑๐ กุศลกรรมบถ หมายถึง การทำความดีที่นำไปสู่ความสุข มี ๑๐ ประการ แบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม ๓. มโนกรรม (การกระทำทางใจ) มี ๓ ประการ ได้แก่ ๘) ไม่โลภอยากได้ของเขา ควรมีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และพร้อมที่จะสร้าง ประโยชน์แก่ผู้อื่น ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๕. กุศลกรรมบถ ๑๐) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๙) ไม่พยาบาทปองร้ายผู้อื่น ควรมีจิตใจเมตตากรุณา ๑๐) ไม่เห็นผิดจากคลองธรรม ควรมีความเห็นที่ถูกต้อง เห็นว่ากฎแห่งกรรม มีจริง 247

49 จับคู่ตอบคำถามให้ถูกต้อง
๑. ข้อปฏิบัติสำหรับการรักษาวงศ์ตระกูลให้ดำรงอยู่ได้นานคืออะไร ๒. สิ่งของที่จำเป็นเมื่อเกิดชำรุดเสียหายควรทำอย่างไร ๓. ข้อปฏิบัติที่เป็นหนทางแห่งความสำเร็จและเจริญก้าวหน้าในชีวิตคืออะไร ๔. “เรียนจากครู ดูจากตำรับ สดับปาฐะ” คนที่ยึดหลักข้อนี้จะทำให้มีความรู้มากและได้ ชื่อว่าอะไร ๕. คนที่มีปัญญา มีคุณธรรม และเป็นสัตบุรุษ ตามหลักพระพุทธศาสนาเรียกว่าอะไร กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ ซ่อมแซมให้ใช้การได้ ดรุณธรรม ๖ ๑) ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนตอบคำถาม โดยเขียนคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงคำตอบทีละข้อ พหูสูต คนดี 248

50 จับคู่ตอบคำถามให้ถูกต้อง
๖. ความถึงพร้อมด้วยการที่จะฝึกฝนและพัฒนาตนเองเรียกว่าอะไร ๗. อัปปมาทสัมปทาสอนให้เราดำเนินชีวิตอย่างไร ๘. เว้นจากการฆ่า เบียดเบียน และทำร้ายผู้อื่น เป็นการกระทำทางใดในกุศลกรรมบถ ๑๐ ๙. “พูดแต่ความจริง พูดคำไพเราะอ่อนหวาน พูดคำก่อให้เกิดความรักความสามัคคี และพูดคำที่มีประโยชน์” จัดเป็นกรรมประเภทใด ๑๐. มโนกรรมที่สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนาคืออะไร อัตตสัมปทา ด้วยความไม่ประมาท ทางกาย ๑) ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนตอบคำถาม โดยเขียนคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงคำตอบทีละข้อ วจีกรรม ความเห็นที่ถูกต้องตามครรลองคลองธรรม 249

51 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๖. มงคล ๓๘ มงคล คือ สิ่งที่ทำให้ชีวิตโชคดี ตามหลักพระพุทธศาสนา หมายถึง ข้อปฏิบัติ ที่นำความสุขและความเจริญมาให้แก่ผู้ปฏิบัติ มี ๓๘ ประการ ดังตัวอย่าง การประพฤติธรรม (ธมฺมจริยา) เป็นมงคลข้อที่ ๑๖ หมายถึง การปฏิบัติตนให้อยู่ในกรอบของความถูกต้องและความดีงาม มีความเที่ยงตรง การทำงานเพื่อส่วนรวมต้องประพฤติธรรม ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๖. มงคล ๓๘) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 250

52 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๖. มงคล ๓๘
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๖. มงคล ๓๘ การประพฤติธรรมมี ๒ ลักษณะควบคู่กันไป ได้แก่ ๑. การประพฤติเป็นธรรม คือ การประพฤติตนให้มีความยุติธรรม ได้แก่ ไม่ลำเอียง เพราะอคติ ๔ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๖. มงคล ๓๘) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด เพราะรัก เพราะชัง เพราะหลง เพราะกลัวภัย คือ การประพฤติปฏิบัติตนตามหลักธรรม คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เช่น กุศลกรรมบถ ๑๐ ๒. การประพฤติตามธรรม 251

53 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๖. มงคล ๓๘
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๖. มงคล ๓๘ ประโยชน์ของการประพฤติธรรม ๑. เป็นมหากุศลต่อผู้ปฏิบัติ ๒. เป็นผู้ไม่ประมาท ๓. เป็นผู้รักษาสัทธรรม ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๖. มงคล ๓๘) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๔. เป็นผู้นำศาสนาให้เจริญ ๕. เป็นสุขในโลกนี้และโลกหน้า ๖. ไม่ก่อเวรก่อภัยกับใคร ๆ ๗. เป็นผู้ให้อภัยแก่สรรพสัตว์ 252

54 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๖. มงคล ๓๘
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๖. มงคล ๓๘ ประโยชน์ของการประพฤติธรรม ๘. เป็นผู้ดำเนินตามปฏิปทาของผู้รู้ ๙. สร้างความเจริญความสงบสุขแก่ตนเองและส่วนรวม ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๖. มงคล ๓๘) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๑๐. เป็นผู้สร้างทางมนุษย์ สวรรค์ พรหม นิพพาน 253

55 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๖. มงคล ๓๘ มงคล คือ สิ่งที่ทำให้ชีวิตโชคดี ตามหลักพระพุทธศาสนา หมายถึง ข้อปฏิบัติ ที่นำความสุขและความเจริญมาให้แก่ผู้ปฏิบัติ มี ๓๘ ประการ ดังตัวอย่าง ๒. การงดเว้นจากความชั่ว (อารตี วิรตี ปาปา) เป็นมงคลข้อที่ ๑๙ หมายถึง การไม่กระทำสิ่งที่ไม่ดี ซึ่งมีผลเป็นทุกข์ ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๖. มงคล ๓๘) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 254

56 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๖. มงคล ๓๘ วิธีงดเว้นจากความชั่ว เป็นการฝึกอบรมจิตใจของผู้ที่ปรารถนาความสุขและความเจริญ โดยการฝึกใจให้มีหิริและโอตตัปปะ หิริ คือ ความละอายที่จะทำบาป เพราะเห็นว่าบาปเป็นของสกปรก น่ารังเกียจ จึงไม่อยากทำ ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๖. มงคล ๓๘) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด โอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัวต่อผลของบาป ไม่อยากทำบาป เพราะกลัวว่าเมื่อทำไปแล้วบาปจะส่งผลเป็นความทุกข์และความเดือดร้อนมาให้ 255

57 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๖. มงคล ๓๘
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๖. มงคล ๓๘ ประโยชน์ของการงดเว้นจากความชั่ว ๑. มีจิตใจผ่องใส ๒. เป็นผู้ไม่ประมาทในการดำเนินชีวิต ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๖. มงคล ๓๘) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๓. ปราศจากโรคภัยและศัตรูเบียดเบียน ๔. มีความเจริญก้าวหน้า ๕. มีอายุยืนยาว 256

58 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๖. มงคล ๓๘ มงคล คือ สิ่งที่ทำให้ชีวิตโชคดี ตามหลักพระพุทธศาสนา หมายถึง ข้อปฏิบัติ ที่นำความสุขและความเจริญมาให้แก่ผู้ปฏิบัติ มี ๓๘ ประการ ดังตัวอย่าง ๓. การงดเว้นจากการดื่มน้ำเมา (มชฺชปานา จ สญฺญโม) เป็นมงคลข้อที่ ๒๐ หมายถึง การไม่เข้าไปข้องแวะหรือ หวนกลับไปหาสุราและของมึนเมา ทุกชนิดไม่ว่าโดยวิธีใดก็ตาม ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๖. มงคล ๓๘) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด 257

59 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๖. มงคล ๓๘ โทษของการดื่มน้ำเมา พระพุทธเจ้าได้ทรงสรุปโทษของการดื่มน้ำเมาไว้ มี ๖ ประการ ๑. ทำให้เสียทรัพย์สินเงินทอง ๔. ทำให้ขาดความละอาย ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๖. มงคล ๓๘) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๒. ทำให้เกิดโรคหลายอย่าง ๕. ทำให้เสียชื่อเสียง ๓. ทำให้เกิดการทะเลาะวิวาท ๖. ทำให้สติปัญญาเสื่อมถอยลง 258

60 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๖. มงคล ๓๘ วิธีเลิกดื่มน้ำเมา ๑. พิจารณาให้เห็นโทษ ๔. นึกถึงศักดิ์ศรีของตัวเองให้มาก ๕. หลีกเลี่ยงให้ห่างไกลจากเพื่อน ที่ชอบดื่มน้ำเมา ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๖. มงคล ๓๘) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๒. ตั้งใจอย่างแน่วแน่ว่าจะเลิกโดยเด็ดขาด ๓. สิ่งใดที่จะเป็นสื่อให้คิดถึงน้ำเมา ขนไปทิ้งให้หมด 259

61 มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๖. มงคล ๓๘
๑.๒ อริยสัจ ๔ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ ๖. มงคล ๓๘ ประโยชน์ของการงดเว้นจากการดื่มน้ำเมา ๑. ไม่ก่อการทะเลาะวิวาท ๒. ไม่เสียทรัพย์สินเงินทอง ๑. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑.๒ อริยสัจ ๔ ครูอธิบายความหมาย ประเภท และความสำคัญของมรรค: ธรรมที่ควรเจริญ (๖. มงคล ๓๘) จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๒ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๓. ไม่เกิดโรคที่เกี่ยวกับน้ำเมา ๔. มีชื่อเสียง มีคนรักใคร่ ๕. มีความเจริญก้าวหน้าในการงาน ๖. เป็นผู้ไม่ประมาทในชีวิต 260

62 เรื่องน่ารู้ พระราชบัญญัติ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ หมวด ๔
การควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ __________________ มาตรา ๒๗ ห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในสถานที่หรือบริเวณดังต่อไปนี้ (๑) วัดหรือสถานที่สำหรับปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา (๒) สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลและร้านขายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา (๓) สถานที่ราชการ ยกเว้นบริเวณที่จัดไว้เป็นร้านค้าหรือสโมสร (๔) หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก เรื่องน่ารู้-พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครูเล่าเรื่องเสริมความรู้ให้แก่นักเรียนนอกเหนือจากความรู้ในบทเรียน และบอกแหล่งความรู้เพิ่มเติมกระตุ้นการเรียนรู้นอกชั่วโมงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีการเรียนรู้ที่กว้างขวางขึ้น ที่มา : 261

63 เรื่องน่ารู้ พระราชบัญญัติ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ หมวด ๔
การควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ __________________ มาตรา ๒๗ ห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในสถานที่หรือบริเวณดังต่อไปนี้ (๕) สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ (๖) สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง หรือร้านค้าในบริเวณสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง (๗) สวนสาธารณะของทางราชการที่จัดไว้เพื่อการพักผ่อนของประชาชนโดยทั่วไป (๘) สถานที่อื่นที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ เรื่องน่ารู้-พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครูเล่าเรื่องเสริมความรู้ให้แก่นักเรียนนอกเหนือจากความรู้ในบทเรียน และบอกแหล่งความรู้เพิ่มเติมกระตุ้นการเรียนรู้นอกชั่วโมงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีการเรียนรู้ที่กว้างขวางขึ้น ที่มา : 262

64 เรื่องน่ารู้ พระราชบัญญัติ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ หมวด ๔
การควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ __________________ มาตรา ๒๙ ห้ามมิให้ผู้ใดขายเครื่องดื่มแก่บุคคลดังต่อไปนี้ (๑) บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์ (๒) บุคคลที่มีอาการมึนเมาจนครองสติไม่ได้ เรื่องน่ารู้-พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครูเล่าเรื่องเสริมความรู้ให้แก่นักเรียนนอกเหนือจากความรู้ในบทเรียน และบอกแหล่งความรู้เพิ่มเติมกระตุ้นการเรียนรู้นอกชั่วโมงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีการเรียนรู้ที่กว้างขวางขึ้น ที่มา : 263

65 บทสรุป อริยสัจ ๔ เป็นหลักแห่งเหตุและผลที่สมบูรณ์พร้อมด้วยหลักการภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ และผลของการปฏิบัติ จึงเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ด้วยเหตุนี้เอง หลักธรรมต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนไว้จึงสามารถอธิบายและสรุปลงได้ที่อริยสัจ ๔ ทั้งสิ้น ดังตัวอย่าง อบายมุข ๔ หลักกรรม (สมบัติ ๔–วิบัติ ๔) อายตนะ ทุกข์: ธรรมที่ควรรู้ สมุทัย: ธรรมที่ควรละ บทสรุป ๑) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงข้อสรุปความทีละประเด็น สติปัฏฐาน ๔ กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ ดรุณธรรม ๖ อริยสัจ ๔ อกุศลกรรมบถ ๑๐ มรรค: ธรรมที่ควรเจริญ นิโรธ: ธรรมที่ควรบรรลุ บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา ๗ มงคล ๓๘ สุข ๒ (สามิสสุข–นิรามิสสุข) กุศลกรรมบถ ๑๐ 264

66 เครื่องดื่มชนิดใดที่ “มีแอลกอฮอล์”
Wine Coffee Brandy Whisky Water Tequila Champagne Juice Milk Vodka ๑) ครูให้นักเรียนกากบาททับชื่อเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ๒) ครูคลิกเพื่อเฉลยคำตอบ Tea Gin Beer Soda Rum 265


ดาวน์โหลด ppt แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google