ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานการค้า กับกลุ่มประเทศ AEC
โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกลุ่มบริษัท V-SERVE รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย วันที่ 6 มกราคม 2559 บรรยายกลุ่มซัพพลายเชนของบริษัท ซินเนอยีพลาสเคม จำกัด
2
หัวข้อการบรรยาย 1 ทิศทางเศรษฐกิจประเทศไทย 2559 2
โอกาสและความท้าทายของไทยกับ AEC และ โครงข่ายเชื่อมโยงโลจิสติกส์
3
สภาวะเศรษฐกิจไทยปี 2558 มีความอ่อนแอมากกว่าที่ประเมินไว้ เศรษฐกิจถูกผลักดันจากการลงทุนภาครัฐ (+22.6%) และการท่องเที่ยว (+10.9%) การส่งออกที่ถดถอยถึงร้อยละ 5.2 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 (เดือนพ.ย.ติดลบไม่รวมน้ำมัน-ทองคำ -5.9%) อุตสาหกรรมส่งออกถดถอยต่อเนื่อง 1-2 ปี มีมากกว่า 40 สาขาอุตสาหกรรม การนำเข้าติดลบร้อยละ 11.5 เป็นการถดถอย 2 ปี ต่อเนื่อง โดยเดือนตุลาคมที่ผ่านมาการนำเข้าสินค้าทุนประเภทเครื่องจักร (ไม่รวมการนำเข้าเครื่องบิน) หดตัวสูงถึงร้อยละ 11 และการนำเข้าวัตถุดิบหดตัวสูงถึงร้อยละ 21 (YoY) ภาคอุตสาหกรรมกำลังการผลิตไม่เต็มศักยภาพหรือไม่เต็มกะ กำลังการผลิตยังเหลืออยู่ประมาณ 30-35% สามารถรองรับสถานการณ์ได้อย่างน้อย 2 ปี การฟื้นตัวเศรษฐกิจปี 2559 การลงทุน-การจ้างงานครึ่งปีแรกอาจทรงตัว การผลิตและการลงทุนของเอกชน อาจอยู่ในระดับที่ทรงตัวใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา
4
ดัชนีวัดเศรษฐกิจในปี 2558
ตัวเลขที่เป็นบวก GDP +2.9 การลงทุนภาครัฐ การลงทุนรัฐวิสาหกิจ +5.4 การบริโภคเอกชน +2.0 การท่องเที่ยว (ประมาณ) +10.9 ตัวเลขที่ติดลบและน่าเป็นห่วง GDP เกษตร -4.3 การลงทุนเอกชน -1.3 การส่งออก -5.2 การนำเข้า -11.8% เงินเฟ้อ -0.9 รายได้ภาคเกษตร -13 การว่างงาน (P)% MPI อุตสาหกรรม -18% กำลังการผลิตอุตสาหกรรม 58% การขยายตัวสินเชื่อธนาคาร 4-5% หนี้ครัวเรือน/GDP 81.08%
5
อุตสาหกรรมส่งออกที่ได้รับผลกระทบ
อุตสาหกรรมส่งออกถดถอย 1 ปี อุตสาหกรรมส่งออกถดถอย 2 ปี ลำดับ ชื่อสินค้า 2557 2558 (ม.ค.-ต.ค.) 1 มอเตอร์และเครื่องกำเนิดไฟฟ้า 8.55 -14.91 ไขมันและน้ำมันจากพืชและสัตว์ -32.92 -45.87 2 เม็ดพลาสติก 8.09 -14.40 ส่วนประกอบอากาศยานและอุปกรณ์การบิน -25.69 -41.52 3 ผักกระป๋องและแปรรูป 7.28 -12.67 เคมีภัณฑ์ -5.53 -26.36 4 ผลิตภัณฑ์อลูมิเนียม 11.08 -11.72 กากน้ำตาล -29.24 -17.40 5 เครื่องคอมเพลสเซอร์ของเครื่องทำความเย็น 3.34 -9.41 ผลิตภัณฑ์ยาง -5.93 -13.99 6 เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบลูกสูบและส่วนประกอบ 1.17 -8.62 อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป -10.79 -13.45 7 เนื้อสัตว์และสิ่งปรุงแต่งที่ทำจากเนื้อสัตว์ 4.81 -7.46 ทองแดงและของทำด้วยทองแดง -3.22 -12.97 8 เครื่องรับวิทยุโทรทัศน์และส่วนประกอบ 3.27 -6.27 เฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน -3.10 -12.85 9 ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ 6.13 -5.23 ผ้าผืน -4.66 -8.36 10 แผงสวิทช์และแผงควบคุมกระแสไฟฟ้า 16.43 -4.74 เครื่องนุ่งห่ม -0.57 -7.96 11 เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่องจักรกล 6.33 -4.04 เครื่องสำอาง สบู่ และผลิตภัณฑ์รักษาผิว -3.42 -6.84 12 ตู้เย็น ตู้แช่แข็งและส่วนประกอบ 1.8 -4.01 ผลิตภัณฑ์ข้าว -1.21 -5.59 13 ผลิตภัณฑ์พลาสติก 6.10 -3.70 เตาอบไมโครเวฟและเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน -2.18 -5.69 14 กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ 3.68 -3.27 สายไฟฟ้าและเคเบิล -1.54 -4.87 15 เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 3.17 -2.83 เส้นใยประดิษฐ์ -1.52 -4.39 16 ผลิตภัณฑ์ข้าวสาลีและอาหารสำเร็จรูปอื่นๆ 12.18 -1.74 เครื่องกีฬาและเครื่องเล่นเกม -6.23 -3.39 17 เครื่องซักผ้าและเครื่องซักแห้งและส่วนประกอบ 1.46 -0.99 ของเบ็ดเตล็ดทำด้วยโลหะสามัญ -0.87 -3.09 18 สิ่งปรุงรสอาหาร 6.75 -0.95 เลนซ์ -6.74 -3.02 19 เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ 2.29 -0.56 รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ -14.10 -2.31 20 เครื่องตัดต่อและป้องกันวงจรไฟฟ้า 15.46 -0.27 เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบอื่นๆ -9.78 -0.59
6
ปี 2559 ความเสี่ยงเศรษฐกิจไทยขึ้นอยู่กับการฟื้นตัวของคู่ค้าส่งออก (1)
การส่งออกไทยพึ่งพาประเทศคู่ค้าหลักเพียง 6 ประเทศ คิดเป็นสัดส่วนส่งออกสูงถึงร้อยละ 73 ซึ่งคู่ค้าหลักของไทยมีเพียงสหรัฐอเมริกาเท่านั้นที่การขยายตัวส่งออกในปี 2558 เป็นบวกร้อยละ 2.25 นอกนั้นล้วนติดลบเฉลี่ยร้อยละ -7.0 (ยกเว้นประเทศ CLMV ที่ยังขยายตัวได้) เศรษฐกิจจีนจะเป็นตัวแปรสำคัญต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ทิศทางเศรษฐกิจของโลกขาดความชัดเจนอาจขยายตัวได้ 3.6% (IMF) สศค.คาดส่งออกอาจขยายตัว 2.5% และธปท.คาด 0% สศช.เศรษฐกิจจะเติบโตประมาณ 3-4% (ปี 58= 2.8%) ราคาน้ำมันที่ลดลงต่อเนื่องตั้งแต่เดือนมกราคม ราคาน้ำมัน WTI เฉลี่ย เหรียญสหรัฐ/บาเรล ราคา WTI ต้นเดือนมกราคม 36.91เหรียญสหรัฐ/บาเรล ลดลงถึงร้อยละ สะท้อนจากเศรษฐกิจโลกที่อยู่ในสภาวะซบเซา ผลกระทบจะมีต่อการส่งออกสินค้าโภคภัณฑ์และยางพาราจะถดถอยต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 ทิศทางราคาน้ำมันทรงตัวในอัตราต่ำ แสดงให้เห็นถึงเศรษฐกิจโลกยังไม่ฟื้นตัว ในไตรมาส 3 สินเชื่อเอกชนคงค้าง 11.5 ล้านล้านบาท มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจรอบสองมีงบประมาณไม่พอที่จะทำให้เศรษฐกิจกลับมาขับเคลื่อน ซึ่งจะทำให้ตัวเลขบริโภคเอกชนอาจขยายตัวได้ใกล้เคียงกับปี 2558 ประมาณร้อยละ 2.6 ตลาดภายในยังซบเซา หรือโตได้ใกล้เคียงปี 2558 จากภัยแล้งส่งผลต่อ GPP ภาคเกษตรลดลง % ปัญหาเม็ดเงินจริงกระตุ้นเศรษฐกิจ ปัญหาหนี้ครัวเรือนสูงฉุดกำลังซื้อ 2 3
7
ปี 2559 ความเสี่ยงเศรษฐกิจไทยขึ้นอยู่กับการฟื้นตัวของคู่ค้าส่งออก (2)
อาจขยายตัวได้เล็กน้อยหรือใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมาประมาณร้อยละ 58.5 ทำให้มีกำลังการผลิตส่วนเกินค่อนข้างสูง ส่งผลให้ระดับราคาสินค้าภาคอุตสาหกรรมทรงตัว อีกทั้งกับห้างโมเดิร์นเทรดมีแคมเปญลดราคาต่อเนื่อง ทำให้เงินเฟ้อยังอยู่ในระดับที่ต่ำประมาณ 1.0% (ปี 2558 เงินเฟ้อติดลบ -0.9%) การผลิตอุตสาหกรรมยังทรงตัวในระดับต่ำแต่แนวโน้มจะดีกว่าปีที่ผ่านมา การลงทุนเอกชนผ่าน BOI ปี 58 มูลค่า 2.1 แสนล้านบาท อาจทำให้การลงทุนเอกชนขยายตัวได้เล็กน้อยจากที่ติดลบ -1.3 ในปี 2558 การนำเข้าสินค้าทุนประเภทเครื่องจักร-ส่วนประกอบเดือนตุลาคม 2558 (ไม่รวมการนำเข้าเครื่องบิน) หดตัวสูงถึงร้อยละ 11 (YoY) และการนำเข้าวัตถุดิบหดตัวสูงถึงร้อยละ 2 การลงทุนภาครัฐมูลค่า 5.4 แสนล้านบาท อาจเบิกจ่ายไม่ได้ตามเป้าหมาย (ประมาณการลงทุนภาครัฐขยายตัวร้อยละ 11.2) การลงทุนเอกชนในปี 2559 ยังทรงตัวหรือขยับตัวได้เล็กน้อย เศรษฐกิจขับเคลื่อนจากการ ลงทุนภาครัฐ 4 5
8
ปี 2559 ความเสี่ยงเศรษฐกิจไทยขึ้นอยู่กับการฟื้นตัวของคู่ค้าส่งออก (3)
อัตราแลกเปลี่ยนผันผวน และปัญหาเงินทุนไหลออก (ม.ค.-พ.ย.58) เงินทุนไหลออกสุทธิ 5.6 แสน ล้านบาท 6 การออกพันธบัตร กองทุน Future Fund เป็นทางเลือกการออมและสถาบันการเงินมีความระมัดระวังในการปล่อยสินเชื่อภาคเอกชน ปัญหาสภาพคล่องภาคธุรกิจ เดือนธ.ค. 58 เฟดปรับดอกเบี้ย 0.25% คาดว่ากลางปี 2559 อาจขยับเป็น 1.3% อาจมีผลต่อดอกเบี้ยนโยบายของ ธปท. อัตราปัจจุบัน 1.5% และอาจขยับไปจนถึงระดับ 2.5% ขึ้นอยู่กับเวลาและการรักษาสมดุล แนวโน้มดอกเบี้ยสูงขึ้น ECB อัดฉีด 6.0 ล้านยูโรต่อเดือน และ BOJ ใช้นโยบาย QE 23 ล้านล้านบาท ทำให้ค่าเงินเยนอ่อนค่า กดดันเหรียญสหรัฐให้แข็งค่า ปี 2558 เงินบาทอ่อนค่า 11.0% การปรับดอกเบี้ยเฟด 0.25 เงินทุนไหลกลับ การอัดฉีด QE ของหลายประเทศจะทำให้สกุลเงินในโลกผันผวน ทิศทางเงินบาทอ่อนค่า บาท/เหรียญสหรัฐ ต้นเดือนมกราคม 59 จีนลดค่าเงินหยวนต่ำสุดในรอบ 5 ปี ตามมาด้วยเวียดนาม ซึ่งจะยิ่งทำให้อัตราแลกเปลี่ยนผันผวนมากขึ้น 7 8
9
ตัวเลขชี้วัดเศรษฐกิจไทยปี 2558/2559
การขยายตัวทางเศรษฐกิจ หรือจีดีพี (ธปท.) 2.8% 3.5% การส่งออกเชิงมูลค่า (228,210 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) -5.5% 2.5% การนำเข้าเชิงมูลค่า (204,300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) -11.8% 5.4% การลงทุนภาครัฐ 22.6% 11.2% การลงทุนรัฐวิสาหกิจ - การลงทุนเอกชน -1.3% 4.7% การบริโภคเอกชน 2.0% 2.6% เงินเฟ้อทั่วไป -0.9 % การท่องเที่ยวเชิงปริมาณ 10.9% ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) -18% กำลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม (CPU) 58% จีดีพีภาคเกษตร -4.0 ถึง -4.3% รายได้ภาคเกษตร -13% หนี้ครัวเรือนต่อจีดีพี (พ.ย. 58 มีมูลค่า ล้านล้านบาท) 81.08% การขยายตัวสินเชื่อธุรกิจเอกชน % การว่างงาน 0.92% 1.0 P เงินบาทเมื่อเทียบกับดอลลาร์ (YoY) อ่อนค่าทั้งปีเฉลี่ย 3.3 บาท/USD อ่อนค่า 10.13% ราคาน้ำมัน WTI (ณ 14 ธ.ค.) ลดลงทั้งปีเฉลี่ย 8.92 เหรียญสหรัฐ/บาเรล ลดลงเฉลี่ย 20.03% เงินทุนสำรองระหว่างประเทศ (20 พ.ย. 58) 155.7 แสนล้านเหรียญสหรัฐ
10
AEC : ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
จุดเปลี่ยนของธุรกิจภายใต้...โอกาสและความท้าทาย neighbor Investment Free BUSINESSREFORM UNDER AEC Co-Tourism Single Market Cross border Trade Logistics Free Flow??? One Production Base Single Economic Community ชุมชนเศรษฐกิจระดับภูมิภาค Immigrant Labour ไทย: ฐานการผลิตสินค้า/บริการป้อนสู่ตลาดโลก Openness (การเปิดประเทศ) และ Export-led growth (การใช้การส่งออกเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ) ก่อให้เกิดห่วงโซ่อุปทานขึ้น กล่าวคือ ไทยกลายเป็นศูนย์กลางเครือข่ายการผลิตระดับโลกในภูมิภาคเอเชียซึ่งช่วยส่งเสริมความสามารถในการผลิต (productivity) ลดต้นทุน ดึงดูดการลงทุนและการถ่ายทอดเทคโนโลยี ไทยเป็นประตูเชื่อมทางการค้าสำคัญในการเจาะและขยายมูลค่าทางการค้าสู่ภูมิภาคใกล้เคียงและประเทศอื่นๆ ที่เป็นพันธมิตรทางการค้ากับไทย อาทิ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย บาห์เรน เปรู และกลุ่มเศรษฐกิจ BIMSTEC Borderless Economy Skill Labour Free
11
อาเซียน 10 ปี ข้างหน้า (ค.ศ.2025)
ปฏิญญากัลวาลัมเปอร์ อาเซียน 10 ปี ข้างหน้า (ค.ศ.2025) เพิ่มการรวมตัวและเชื่อมโยงมากขึ้นใน 3 เสาหลัก ได้แก่ การเมืองและความมั่นคง, ประชาคมเศรษฐกิจ, สังคมวัฒนธรรม ประชาคมอาเซียนมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มุ่งเน้นการรวมกลุ่มการค้า ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดย่อย-เล็ก-กลาง (MSME) การเปิดเสรีการค้า–การลงทุน–การเงินและอำนวยสะดวกทางการค้ามากกว่าที่เป็นอยู่ เพิ่มความสะดวกการเคลื่อนย้ายแรงงานและนักวิชาการ การเพิ่มการค้าเสรีภายใต้อาเซียน +8 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย รัสเซีย สหรัฐ)
12
หัวใจแห่งความสำเร็จเขตเสรีอาเซียน....
การเชื่อมโยงตลาด-การลงทุนโลจิสติกส์-บริการ Logistics Across Border Trade Under Single Market Service & Tourism Investment Under Single Production Base Ream Border Industrial
13
AEC : REAL BUSINESS CONNECTIVITY SME : การเชื่อมโยงธุรกิจกับภูมิภาค
เชื่อมโยงด้านธุรกิจการค้าชายแดน-นำเข้า-ส่งออกทางถนนในประเทศ GMS East India South China เชื่อมโยงด้านธุรกิจด้านการท่องเที่ยวในประเทศเพื่อนบ้านทั้งโครงสร้างพื้นฐานและบริการ เชื่อมโยงธุรกิจบริการโลจิสติกส์ ตัวแทนออกของ-ขนส่ง-คลังสินค้า-กระจายสินค้าในระดับภูมิภาค (logistics Service) เชื่อมโยงด้านการลงทุนชายแดนทั้งประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน การเชื่อมโยงได้ประโยชน์จากเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน-โครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงประเทศ CLMV และ GSP-ทรัพยากร-ตลาดกลุ่มประเทศ AEC
14
HOW TO CONNECT WITH REGIONAL ECONOMIC การเชื่อมโยงเศรษฐกิจของท้องถิ่นกับโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่ด่านชายแดน มูลค่าสินค้าชายแดน / ผ่านแดนไทย-กัมพูชา-ลาว-เมียนมาร์-มาเลเซีย ปี 2558 (ม.ค. – ธ.ค.) มูลค่ารวม 985,210 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 2.07 เท่ากับร้อยละ 7.42 ของ GDP มูลค่าส่งออก 576,950 ล้านบาท มูลค่านำเข้า 408,260 ล้านบาท ได้ดุลการค้า 168,690 ล้านบาท ที่มา: กระทรวงคมนาคม
15
สงขลา-สะเดา/ปาดัง-ปะลิส-ปีนัง คุณหมิง-ไทย-มาเลเซีย-สิงคโปร์
การเชื่อมโยงโครงข่ายระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ North-South Logistics Corridor Connectivity ซือเหมา คุณหมิง R3E(A) เชียงของ-ห้วยทราย-หลวงน้ำทา-หม่อฮัน-ซือเหมา-คุณหมิง R3W(B)เชียงราย-แม่สาย-ท่าขี้เหล็ก-ซือเหมา-คุณหมิง หลวงพระบาง เนปิดอร์ เชียงราย น่าน-ปากแบ่ง-หลวงพระบาง น่าน แม่ฮ่องสอน-ต้นนุ่น-ตองยี-เนปิดอร์ น่าน ไชยบุรี R11 อุตรดิดถ์-ภูดู่-ปากลาย-เวียงจันทน์ อุตรดิตถ์ เวียงจันทน์ เลย แม่ฮ่องสอน เลย – ท่าลี่ - เวียงจันทน์ พิษณุโลก รถไฟทางคู่ สิงคโปร-มาเลเซีย-ปาดังเบซาร์-กทม.พิษณุโลก-เชียงราย-เชียงของ-จีน??? Penang Port สงขลา-สะเดา/ปาดัง-ปะลิส-ปีนัง คุณหมิง-ไทย-มาเลเซีย-สิงคโปร์ สิงคโปร์
16
การเชื่อมโยงโครงข่ายเศรษฐกิจตะวันออก/ตะวันตก East-West Logistics Corridor Connectivity
ฮานอย-หนานหนิง R2 ย่างกุ้ง-พะโค-ยะไข่(ซิตะเว่)-ชิน(ตามู)-มณีปุระ R1 ย่างกุ้ง-เนปิดอร์-มัณฑะเลย์-มูเซ่-ต้าลี่-ฉงชิง เนปิดอร์ A1(N) R1 R12 นครพนม-ตำม่วน-วิงห์-ฮานอย-คุณหมิง วิงห์ R9(W) แม่สอด-เมียวดีเมาะตะมะ-ผาอัน-ย่างกุ้ง-ทิลาวา นครพนม R12 ดงฮา พิษณุโลก มุกดาหาร R9 เมียวดี แม่สอด R9w ย่างกุ้ง R9(E) มุกดาหาร-สะหวันเขต-อาวบ๋าว-ดงฮา อุบลฯ R13 R4 เมาะตะมะ-ทวาย โฮจิมินห์ R13 อุบล-ปากเซ-อัถบือ-สตึงเต็ง-โอจิมินห์
17
การเชื่อมโยงโครงข่ายระเบียงเศรษฐกิจใต้ South Logistics Corridor Connectivity
กาญจนบุรี-บ้านพุน้ำร้อน-ทิกกี้-ทวาย อรัญประเทศ ทวาย แหลมฉบัง พนมเปญ R5 กาญจนบุรี-นครปฐม-กบินทร์บุรี-อรัญประเทศ-พนมเปญ
18
ด่านชายแดนเชื่อมโยงการค้า-บริการ การลงทุนไทย – สปป
ด่านชายแดนเชื่อมโยงการค้า-บริการ การลงทุนไทย – สปป.ลาว มูลค่าสินค้าผ่านแดน (ปี 2558) 166, ล้านบาท ได้ดุลการค้า 87, ล้านบาท ด่านนครพนม-คำม่วน-วิงห์ (เวียดนาม) รถไฟความเร็วสูง ไทย-จีน-ลาว คุณหมิง – เวียงจันทร์ – หนองคาย – แก่งคอย – กทม.- มาบตะพุด ด่านช่องเม็ก – ปากเซ (สปป.ลาว) – สะวายเรียง (กัมพูชา) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 2, ล้านบาท ส่งออก 12, ล้านบาท ด่านศุลกากรหนองคาย-เวียงจันทน์ มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 3,804 ล้านบาท ส่งออก 54,473.5 ล้านบาท ด่านมุกดาหาร – สะหวันนะเขต-ด่งฮา(เวียดนาม) - ลังซอน- ผิวเซียง-หนานหนิง(จีน) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 26, ล้านบาท ส่งออก 24, ล้านบาท ด่านเชียงของ – คุณหมิง (R3E) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า ล้านบาท ส่งออก 4, ล้านบาท เส้นทาง R12 – ท่าเรือวิงห์ (เวียดนาม)
19
สปป.ลาว : ROAD CONNECTIVITY โอกาสการเข้าถึงโครงข่ายโลจิสติกส์ การขนส่งทางถนนเชื่อมโยงด้าน East Corridor สะพานข้ามแม่น้ำโขงไทย-ลาว 1 เส้นทางหมายเลข 13 (วังเวียง-หลวงพระบาง) สะพานข้ามแม่น้ำโขงขนาดใหญ่แห่งแรกเชื่อมต่อเทศบาลเมืองหนองคายเข้ากับบ้านท่านาแล้งอยู่ห่างจากนครหลวงเวียงจันทน์ประมาณ 20 กิโลเมตร สะพานข้ามแม่น้ำโขงไทย–ลาว 2 เส้นทางหมายเลข 9 (มุกดาหาร – สะหวันนะเขต-ดงฮ่า) สะพานเชื่อมต่อจังหวัดมุกดาหารกับแขวงสะหวันเขตในประเทศลาว เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางเศรษฐกิจตะวันตกตะวันออก สะพานข้ามแม่น้ำโขงไทย–ลาว 3 เส้นทางหมายเลข 12 (นครพนม – คำม่วน-ฮาติง) สะพานเชื่อมต่อระหว่าง จ.นครพนม กับ ฝั่งลาว อยู่ที่บ้านเวินใต้ เมืองท่าแขก แขวงคำม่วน สะพานข้ามแม่น้ำโขง–ลาว 4 เส้นทางหมายเลข R3A (เชียงของ – บ่อแก้ว –หลวงน้ำทา – หม่อฮัน – ผูเออร์ – คุณหมิง) ช่องแม็ก-ปากเซ เส้นทางหมายเลข13 (อุบลราชธานี-ช่องแม็ก-ปากเซ-จำปาสัก-สตรึงเตรง)
20
ด่านชายแดนเชื่อมโยง การค้า การลงทุน ไทย –กัมพูชา มูลค่าสินค้าผ่านแดน (ปี 2558) 123, ล้านบาท ได้ดุลการค้า 82, ล้านบาท ด่านหาดเล็ก (ตราด)– เกาะกง (กัมพูชา) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า ,662.8 ล้านบาท ส่งออก 27, ล้านบาท ด่านอรัญประเทศ – ปอยเปต-ศรีโสภณ (กัมพูชา) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า , ล้านบาท ส่งออก , ล้านบาท เส้นทางการค้ากัมพูชา ท่าเรือสีหนุวิวล์
21
ท่าเรือปีนัง ประเทศมาเลเซีย ขนส่งยางพาราปีละประมาณ 300,000 TEU
ด่านชายแดนเชื่อมโยงการค้า-บริการ-การลงทุน ไทย-มาเลเซีย มูลค่าการค้าผ่านแดน (ปี 2558) 483, ล้านบาท ได้ดุลการค้า18, ล้านบาท ด่านสะเดา จ.สงขลา การค้าชายแดน นำเข้า , ล้านบาท ส่งออก , ล้านบาท ด่านปาดังเบซาร์ จ.สงขลา การค้าชายแดน นำเข้า , ล้านบาท ส่งออก , ล้านบาท ด่านประกอบ จ.สงขลา ท่าเรือปีนัง ประเทศมาเลเซีย ขนส่งยางพาราปีละประมาณ 300,000 TEU เส้นทางการค้ามาเลเซีย
22
ประเทศเมียนมาร์...จุดแข็งของไทยคือ การเชื่อมโยงโลจิสติกส์ทางถนน
23
ด่านชายแดนเชื่อมโยงการค้า บริการ การลงทุน ไทย-เมียนมาร์
ด่านชายแดนเชื่อมโยงการค้า บริการ การลงทุน ไทย-เมียนมาร์ การค้าผ่านแดน (ปี2558) มูลค่า 218, ล้านบาท ขาดดุล 20, ล้านบาท ด่านแม่สาย-ท่าขี้เหล็ก-ตองจี-เนปิดอร์ (จ.เชียงราย)มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า ล้านบาท ส่งออก 9, ล้านบาท ด่านแม่สอด-เมียวดี-ย่างกุ้ง (จ.ตาก) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า ล้านบาท ส่งออก 67, ล้านบาท ด่านพุน้ำร้อน-ทิกกี้-ทวาย-เยห์ (จ.กาญจนบุรี) ด่านสิงขร-มะริด (จ.ประจวบคีรีขันธ์) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า ล้านบาท ส่งออก ล้านบาท ท่าเรือระนอง -เกาะสอง (จ.ระนอง) มูลค่าการค้าชายแดน นำเข้า 1, ล้านบาท ส่งออก 16, ล้านบาท เส้นทางขนส่งเมียนมาร์
24
ท่าเรือในย่างกุ้ง...ไม่ธรรมดา
ท่าเรือ 2 แห่งในนครร่างกุ้งปัจจุบันมีสินค้าผ่านท่า แสนTEU/ปี และสามารถขยายได้มากกว่า 1.3 ล้าน TEU/ปี
25
ท่าเรือและเขตเศรษฐกิจพิเศษทิลาวา
ตั้งอยู่ปากน้ำสิเรียมบนแม่น้ำพะโค (แม่น้ำร่างกุ้ง)โครงการจะมีท่าเทียบเรือ 37 ท่า (ปัจจุบันมี 10 ท่า) ปัจจุบันรับสินค้า 350,000 TEU/ปี แต่ขยายได้ 1.0 ล้านTEU/ปี ท่าเรือ ASIA WORLD PORT TERMINAL ตั้งอยู่บนแม่นำย่างกุ้ง ระดับน้ำลึก 9 – 9.5 เมตร ปัจจุบันรับตู้สินค้าได้ 350,000 TEU ต่อปี ห่างจากปากแม่น้ำ 32 ไมล์ ปี 2011 ปริมาณตู้สินค้า ขาเข้า ,644 TEU ขาออก 124,775 TEU
26
โครงการนิคมอุตสาหกรรมทวาย
พื้นที่ชายทะเลหาดชักแคร่ เมืองทวาย ที่จะสร้างท่าเรือทวาย
27
East – West Landbridge Dawei - Kanchanaburi ถนนทวาย – บ้านพุน้ำร้อน
มติ ครม. 20 พ.ค..55 เห็นชอบงบประมาณ 44,500 ล้านบาท สนับสนุนเงินทางมอร์เตอร์เวย์หมายเลข 81 เชื่อมโยงทวาย-บ้านพุน้ำร้อน- บางใหญ่ – นนทบุรี – บ้านห้วยตลุง –กาญจนบุรี-บ้านพุน้ำร้อน
28
ลงทุนในประเทศเมียนมาร์...ต้องรู้อะไรบ้าง
นักธุรกิจท้องถิ่นขาดความเป็นสากล ปัญหาผู้ร่วมทุนและนายหน้าแฝง กฎหมายการลงทุนไม่ชัดเจนและแก้ไขบ่อย ค่าเช่าที่ดิน และค่าเช่าอาคารสูงเกินกว่าความเป็นจริง (ในย่างกุ้งและเมืองใหญ่ๆ) ระเบียบข้อบังคับมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยและปัญหาการบังคับใช้ ปัญหาความล้าหลังด้านโครงสร้างพื้นฐานและระบบไฟฟ้าไม่พอเพียง ปัญหาการขาดแคลนแรงงานทักษะและแรงงานวิชาชีพ ระบบธนาคารยังต้องพัฒนาอีกมาก ขาดฐานข้อมูลเชิงลึกในการลงทุน การขาดอุตสาหกรรมและธุรกิจบริการสนับสนุนการผลิต
29
รัฐบาลเมียนมาร์กับปัญหาชนกลุ่มน้อย มีสัญญาณที่ดีในการยุติการหยุดยิงแต่ยังไม่ยอมวางอาวุธ
30
ประเทศซ้อนประเทศ ชนกลุ่มน้อยที่ยังมีบทบาทในพม่า
ลำดับ ชื่อย่อ ชนกลุ่มน้อย จำนวนกำลังติดอาวุธ (คน) 1 UWSA United Wa State Army 50,000 2 KIO Kachin Independence Organization 6,000 3 KIA Kachin Independence Army 10,000 4 DKBA Democratic Karen Buddhist Army 5,000 5 KNU Karen National Union 6 SSA-N Shan State Army – North 7 NDAA National Democratic Alliance Army 8 NMSP New Mon State Party 3,500 9 PNA Pa-O National Army 1,350 10 NDA-K National Democratic Army – Kachin 1,000
31
เมียนมาร์วันนี้…โอกาสหรือเสียโอกาส
32
การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่เกิดขึ้น....ส่งผลอะไร ?
พรรค NLD ได้รับเลือกเป็นผู้ชนะอย่างถล่มทลาย เพราะประชาชนต้องการเปลี่ยนแปลง ไม่ได้คาดหวังว่าเศรษฐกิจจะดีหรือไม่ โดยประชาชนก็แสดงความกระตือรือร้นออกมาลงคะแนนเสียงถึง 80% จากวลี อยู่เหนือประธานาธิบดี เริ่มมีผลต่อความรู้สึกของประชาชนว่าจะกลายเป็นเหมือนรัฐบาลทหารที่เผด็จการหรือไม่ ซึ่งพรรค NLD ได้วางตัวว่าที่ประธานธิบดีไว้แล้ว แรงงานพม่าที่อยู่ในประเทศไทยในชุมชนใหญ่ เช่น สมุทรสาคร ระนอง เริ่มมีความรู้สึกจะกลับบ้าน เพื่อไปร่วมสร้างบ้าน สร้างเมือง ภายใต้การปกครองใหม่ เศรษฐกิจจะเติบโตตามศักยภาพที่มีอยู่ แต่การเลือกตั้งจะเป็นปัจจัยสนับสนุนให้เกิดการชยายตัวอีกทางหนึ่ง กลุ่มน้อยมีความรู้สึกระแวงในตัวของ นางออง ซาน ซูจี ปัญหาตามชายแดนยังจะอยู่ ไม่ให้แยกตัว ความเป็นรัฐบาลพลเรือนไม่ได้การันตีว่าสภาพการเมืองและความสัมพันธ์ระหว่างเชื้อชาติต่างๆ ในพม่าจะสงบสุข
33
พม่าหลังเลือกตั้ง ทิศทางการเจรจาระหว่างนางอองซานซูจีกับทหารน่าจะหาทางลงตัวกันได้ โดยเฉพาะกระทรวงด้านความมั่นคง ซึ่งคงเป็นโควต้าของทหาร โจทย์สำคัญของอองซานคือ ประชาชนพึ่งพอใจต่อสภาพความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นจากยุคประธานาธิบดีเต็งเส่ง ทำให้เศรษฐกิจและความเป็นอยู่ของคนพม่าเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีทั้งถนน-ไฟฟ้า-อินเตอร์เน็ต เศรษฐกิจขยายตัวได้ 8.3% มีการลงทุน (FDI) มากกว่า 2.83 แสนล้านบาท บุคคลสำคัญหลังเปลี่ยนถ่ายอำนาจคือ นายพล ส่วย มาน ประธานรัฐสภาและเป็นผู้นำกองทัพ โดยจะเป็นรัฐบาลผสม นางอองซานน่าจะเป็น รมต.ต่างประเทศ หลังรัฐบาลใหม่จะเห็นการเปลี่ยนแปลงในพม่าทั้งด้านต่างประเทศ การลงทุน ตลาดภายใน กฎหมาย และการเมืองระหว่างประเทศ
34
AEC เหรียญสองด้าน เป็นทั้งโอกาสและความท้าท้าย ขึ้นอยู่กับว่าการปรับตัวหรือรอโชคชะตา เศรษฐกิจ (ใหม่) และชุมชนไร้พรมแดนของ AEC จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างคาดไม่ถึง ทั้งในระดับปัจเจกบุคคล และธุรกิจ แน่ใจแล้วหรือว่าได้มีการเตรียมพร้อมสู่ AEC ??
35
END ข้อมูลเพิ่มเติมที่
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.