งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บรรยายครั้งที่ 3 - กราฟิกวิศวกรรม 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บรรยายครั้งที่ 3 - กราฟิกวิศวกรรม 1"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บรรยายครั้งที่ 3 - กราฟิกวิศวกรรม 1
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แผนการสอน

3 การให้ขนาด (dimensioning)
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาด (dimensioning)

4 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบงาน (working drawing) เป็นแบบที่ใช้สร้างชิ้นส่วน ต้องมีความสมบูรณ์ ไม่จำเป็นต้องให้ข้อมูลเพิ่มเติมให้กับผู้ทำชิ้นส่วนอีก แบบงานจะประกอบด้วยการให้ขนาดที่ชัดเจน แม่นยำ และให้ความหมายอย่างเดียว โดยทั่วไปแต่ละพื้นผิว เส้น หรือจุด จะแสดงการให้ขนาดเพียงชุดเดียว และไม่มีการให้ซ้ำในภาพอื่น

5 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ส่วนประกอบของการให้ขนาด

6 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดแนวเส้น เส้นขนาดและเส้นกำกับ เส้นชี้ การเขียนข้อความกำกับ หน่วยวัด หลักการเบื้องต้นของการให้ขนาด การให้ขนาดไม่ตรงมาตราส่วน

7 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เส้นขนาดและเส้นกำกับ

8 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตำแหน่งตัวเลขขนาด

9 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขนาดหัวลูกศรและรูปแบบ

10 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เส้นขนาดเอียง

11 การบอกขนาดจากภาพบางส่วน
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การบอกขนาดจากภาพบางส่วน

12 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การเขียนเส้นกำกับ

13 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การใช้เสันผ่าศูนย์กลางเป็นเส้นกำกับ

14 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดแนวเส้น เส้นขนาดและเส้นกำกับ เส้นชี้ การเขียนข้อความกำกับ หน่วยวัด หลักการเบื้องต้นของการให้ขนาด การให้ขนาดไม่ตรงมาตราส่วน

15 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เส้นชี้ใช้สำหรับการเขียนข้อความ ขนาด สัญลักษณ์ หมายเลขรายการ หรือหมายเลขชิ้นงานบนภาพ เส้นชี้ควรเป็นเส้นตรงเอียง (ไม่เป็นเส้นตั้งหรือเส้นนอน) และต่อด้วยเส้น นอนสั้นๆ ซึ่งจะเขียนข้อความต่อที่ปลายเส้น ปลายเส้นชี้อาจเป็นหัวลูกศรหรือจุดที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางอย่างน้อย .06 นิ้ว (1.5 มม.)

16 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปลายศรชี้ควรจะจรดเส้นขอบภาพ ส่วนจุดควรจะอยู่ในบริเวณภาพและ บนพื้นผิว เส้นชี้ไม่ควรงอโค้งในทุกกรณียกเว้นหลีกเลี่ยงไม่ได้ และไม่ควรทับกัน และควรเขียนเส้นชี้ที่ติดกันให้ขนานกัน เมื่อเขียนเส้นชี้กับวงกลมหรือส่วนโค้ง เส้นชี้ต้องพุ่งเข้าหาจุดศูนย์กลาง การเขียนข้อความกำกับเส้นชี้ต้องเขียนในแนวนอน

17 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เส้นชี้

18 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดแนวเส้น เส้นขนาดและเส้นกำกับ เส้นชี้ การเขียนข้อความกำกับ หน่วยวัด หลักการเบื้องต้นของการให้ขนาด การให้ขนาดไม่ตรงมาตราส่วน

19 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การเขียนข้อความกำกับเพื่อให้การบอกขนาดง่าย และสมบูรณ์ อาจจะเขียนแบบใช้รวม เช่น Rounds and Fillets R.06 (รัศมีของส่วน โค้งและลบมุม เท่ากับ 0.06) อาจจะเขียนแบบเฉพาะที่ โดยใช้เส้นชี้ไปที่ตำแหน่งที่ต้องการ ในกรณีที่มีลักษณะและขนาดซ้ำที่ต้องการหลายตำแหน่ง ในการเขียน เฉพาะที่ให้ใช้เครื่องหมาย X (คูณ) และตัวเลขแสดงจำนวน ที่ต้องการ เช่น 2 x ∅6, M12 x 12.5

20 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดแนวเส้น เส้นขนาดและเส้นกำกับ เส้นชี้ การเขียนข้อความกำกับ หน่วยวัด หลักการเบื้องต้นของการให้ขนาด การให้ขนาดไม่ตรงมาตราส่วน

21 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการเขียนแบบโดยใช้หน่วยทั้งหมดเป็นนิ้ว หรือ มม. ไม่จำเป็นต้องเขียนกำกับบอกหน่วยในแต่ละแห่ง แต่ต้องเขียนแสดงหน่วยที่ใช้ไว้ในแผ่นแบบนั้น

22 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดแนวเส้น เส้นขนาดและเส้นกำกับ เส้นชี้ การเขียนข้อความกำกับ หน่วยวัด หลักการเบื้องต้นของการให้ขนาด การให้ขนาดไม่ตรงมาตราส่วน

23 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ควรให้ขนาดในภาพ เส้นขนาดที่บอกระยะสั้นที่สุด (กว้าง ยาว และ สูง) จะอยู่ใกล้ภาพมากที่สุด ให้ขนาดในตำแหน่งของภาพที่แสดงลักษณะหรือรูปร่างได้ดี ในกรณีภาพขนาดใหญ่ สามารถให้ขนาดในภาพได้ ใช้ระบบการให้ขนาดแบบเดียวกัน ไม่ควรให้ขนาดซ้ำกับภาพอื่น ควรเลือกการให้ขนาดที่ไม่มีการหักลบหรือบวก เพื่อแสดงหรือกำหนดลักษณะ

24 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้ขนาดระหว่างภาพ

25 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขนาดสั้นที่สุดอยู่ใกล้ภาพ

26 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดแนวเส้น เส้นขนาดและเส้นกำกับ เส้นชี้ การเขียนข้อความกำกับ หน่วยวัด หลักการเบื้องต้นของการให้ขนาด การให้ขนาดไม่ตรงมาตราส่วน

27 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดไม่ตรงมาตราส่วน

28 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดชิ้นส่วนที่มีลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง (diameter) รัศมี (radius) ทรงกลม (sphere) การให้ขนาดส่วนของวงกลม (chord) ส่วนโค้ง (arc) และมุม (angle) รูทรงกระบอก (cylindrical holes) รูยาว (slotted holes) รูเจาะขยายแบบ counterbores and countersinks

29 การให้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางโดยใช้ภาพ 2 ภาพ
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางโดยใช้ภาพ 2 ภาพ

30 การให้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางโดยใช้ภาพ 1 ภาพ
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางโดยใช้ภาพ 1 ภาพ

31 การให้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางบนพื้นที่หน้าตัด
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางบนพื้นที่หน้าตัด

32 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดชิ้นส่วนที่มีลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง (diameter) รัศมี (radius) ทรงกลม (sphere) การให้ขนาดส่วนของวงกลม (chord) ส่วนโค้ง (arc) และมุม (angle) รูทรงกระบอก (cylindrical holes) รูยาว (slotted holes) รูเจาะขยายแบบ counterbores and countersinks

33 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขนาดรัศมีที่ไม่ต้องมีตำแหน่งเส้นผ่าศูนย์กลาง

34 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขนาดรัศมีที่แสดงตำแหน่งเส้นผ่าศูนย์กลาง

35 การให้ขนาดส่วนปลายโค้งทั้งหมด การให้ขนาดส่วนปลายโค้งบางส่วน
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดส่วนปลายโค้งทั้งหมด การให้ขนาดส่วนปลายโค้งบางส่วน การให้ขนาดและแสดงตำแหน่งรู

36 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดชิ้นส่วนที่มีลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง (diameter) รัศมี (radius) ทรงกลม (sphere) การให้ขนาดส่วนของวงกลม (chord) ส่วนโค้ง (arc) และมุม (angle) รูทรงกระบอก (cylindrical holes) รูยาว (slotted holes) รูเจาะขยายแบบ counterbores and countersinks

37 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดส่วนทรงกลม

38 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดชิ้นส่วนที่มีลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง (diameter) รัศมี (radius) ทรงกลม (sphere) การให้ขนาดส่วนของวงกลม (chord) ส่วนโค้ง (arc) และมุม (angle) รูทรงกระบอก (cylindrical holes) รูยาว (slotted holes) รูเจาะขยายแบบ counterbores and countersinks

39 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ส่วนของวงกลม (chord) ส่วนโค้ง (arc) มุม (angle)

40 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดชิ้นส่วนที่มีลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง (diameter) รัศมี (radius) ทรงกลม (sphere) การให้ขนาดส่วนของวงกลม (chord) ส่วนโค้ง (arc) และมุม (angle) รูทรงกระบอก (cylindrical holes) รูยาว (slotted holes) รูเจาะขยายแบบ counterbores and countersinks

41 การให้ขนาดรูทรงกระบอกเจาะทะลุ
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดรูทรงกระบอกเจาะทะลุ

42 การให้ขนาดรูทรงกระบอกตัน
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดรูทรงกระบอกตัน

43 การให้ขนาดรูทรงกระบอกหลายรูที่มีขนาดเดียวกัน
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดรูทรงกระบอกหลายรูที่มีขนาดเดียวกัน

44 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดชิ้นส่วนที่มีลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง (diameter) รัศมี (radius) ทรงกลม (sphere) การให้ขนาดส่วนของวงกลม (chord) ส่วนโค้ง (arc) และมุม (angle) รูทรงกระบอก (cylindrical holes) รูยาว (slotted holes) รูเจาะขยายแบบ counterbores and countersinks

45 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดรูยาว (slotted holes) ซึ่งทำหน้าที่ชดเชยความไม่แม่นยำในการผลิตและเพื่อใช้สำหรับการปรับ

46 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดชิ้นส่วนที่มีลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง (diameter) รัศมี (radius) ทรงกลม (sphere) การให้ขนาดส่วนของวงกลม (chord) ส่วนโค้ง (arc) และมุม (angle) รูทรงกระบอก (cylindrical holes) รูยาว (slotted holes) รูเจาะขยาย

47 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ counterbore - เป็นรูตรงเจาะขยาย (รูลึก) สำหรับให้ส่วนหัวของสลัก เกลียวฝังใต้ผิวชิ้นงาน spotface - เป็นรูตรงเจาะขยาย (รูตื้น) สำหรับให้ผิวสัมผัสเรียบสำหรับ ส่วนหัวของสลักเกลียว น็อต หรือ แหวนรอง countersink - เป็นรูเอียงเจาะขยาย (รูตื้น) สำหรับให้สำหรับส่วนหัวของ สกรู rivets ฯลฯ ฝังลงเสมอชิ้นงาน counterdrilled - เป็นรูเอียงเจาะขยาย (รูลึก) สำหรับให้สำหรับส่วนหัว ของสกรู rivets ฯลฯ ฝังลงใต้ผิวชิ้นงาน

48 การให้ขนาดรูเจาะขยายแบบ counterbore และ spotface โดยใช้สัญลักษณ์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดรูเจาะขยายแบบ counterbore และ spotface โดยใช้สัญลักษณ์

49 การให้ขนาดรูเจาะขยายแบบ countersink และ counterdrill โดยใช้สัญลักษณ์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดรูเจาะขยายแบบ countersink และ counterdrill โดยใช้สัญลักษณ์

50 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปฏิบัติการครั้งที่ 1

51 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1. ภาพแรกเป็นการให้ขนาดที่ไม่เหมาะสม จงให้ขนาดด้วยรูปแบบที่เหมาะสมลงในภาพด้านข้างโดยใช้ขนาดตามภาพแรก

52 10 70 32 80

53 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2. ภาพด้านแรกเป็นการให้ขนาดที่ไม่เหมาะสม จงให้ขนาดด้วยรูปแบบที่เหมาะสมลงในภาพด้านข้างโดยใช้ขนาดตามภาพแรก

54 Sheet pp.52-54 Scale 1:2 Scale 1:2

55 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3. จงให้ขนาดแบบชิ้นส่วนนี้

56 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

57 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จบการบรรยายครั้งที่ 2


ดาวน์โหลด ppt บรรยายครั้งที่ 3 - กราฟิกวิศวกรรม 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google