งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ข้อมูล VS สารสนเทศ Data Information 13 October 2007

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ข้อมูล VS สารสนเทศ Data Information 13 October 2007"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อมูล VS สารสนเทศ Data Information 13 October 2007

2 การประมวผลสารสนเทศ ข้อมูล - - - - - -> ประมวลผล - - - ->
ข้อมูล > ประมวลผล > สารสนเทศ > 13 October 2007

3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
13 July 2002 Information and Communication Technology ตอนที่ 4 Information Systems and System Development โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ

4 Overview ระบบสารสนเทศ (Information Systems)
ความหมายของระบบสารสนเทศ ประโยชน์ของระบบสารสนเทศ ผู้ใช้งานในระบบสารสนเทศ ประเภทของระบบสารสนเทศ วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์ระบบ 13 October 2007

5 ระบบ (Systems) ระบบ หมายถึง กลุ่มขององค์ประกอบที่สัมพันธ์กัน โดยที่แต่ละองค์ประกอบจะทำงานร่วมกัน เพื่อให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์เดียวกัน * Natural Systems * Man-made Systems 13 October 2007

6 ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ หมายถึงองค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ในการสร้างและจัดการสารสนเทศ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในทางปฏิบัติ องค์ประกอบ 5 ส่วน ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุคลากร ข้อมูล กระบวนการ 13 October 2007

7 ประโยชน์ของระบบสารสนเทศในองค์กร
ช่วยทำให้เกิดความรวดเร็วในการปฏิบัติงาน ช่วยในการจัดเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่และปริมาณมากๆ และทำให้การเข้าถึงข้อมูลเร็วขึ้น ทำให้การติดต่อสื่อสารดำเนินไปด้วยความสะดวก ง่ายดาย คล่องตัว ช่วยลดต้นทุนในการดำเนินงาน 13 October 2007

8 สารสนเทศที่ดี ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจในการตัดสินใจต้องการใช้สารสนเทศที่ ตรงประเด็น (Pertinence) ถูกต้อง (Accuracy) ทันเวลา (Timeliness) แน่นอน (Reduced Uncertainty) สดใหม่ (Element of Surprise) 13 October 2007

9 องค์กร องค์กร คือ กระบวนการจัดการโครงสร้างให้บุคคลหลายคน ให้ทำงานร่วมกัน เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ 13 October 2007

10 ผู้บริหารกับระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศถูกสร้างขึ้นมาเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารองค์กร การวางแผนการบริหารและจัดการ กำหนดนโยบายและกลยุทธ์ ติดตามผลการดำเนินงานขององค์กร วิเคราะห์และประเมินผลสัมฤทธิ์ของการบริหาร 13 October 2007

11 การบริหารองค์กร การบริหารองค์กร 3 ระดับ
การบริหารระดับสูง (Executive Management) การบริหารระดับกลาง (Middle Management) การบริหารในระดับหัวหน้างาน (Operational) 13 October 2007

12 ผู้ใช้งานระบบสารสนเทศ
13 October 2007

13 ระดับความต้องการสารสนเทศ
ผู้บริหารระดับสูง กำหนดนโยบาย วางแผนระยะยาว กำหนดกลยุทธ์ขององค์กร 13 October 2007

14 ระดับความต้องการสารสนเทศ
ผู้บริหารระดับกลาง วางแผนระยะสั้น กำหนดยุทธวิธีการบริหารงาน ตามนโยบายขององค์กร ควบคุมดูแลการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตามนโยบาย ติดตามการปฏิบัติงานให้เสร็จสมบูรณ์ 13 October 2007

15 ระดับความต้องการสารสนเทศ
ผู้ปฏิบัติงานและหัวหน้างาน ปฏิบัติตามแผนและนโยบาย จัดเตรียมและจัดเก็บข้อมูล รายงานผลการปฏิบัติงาน 13 October 2007

16 ประเภทของระบบสารสนเทศ
1. ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation) 2. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems) 3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems) 4. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems) 13 October 2007

17 ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation)
เป็นงานที่ต้องทำอยู่เป็นประจำ เช่น การส่งจดหมาย การพิมพ์เอกสารรายงาน หรือ การจัดตารางเวลา ใช้โปรแกรมประยุกต์ที่มีขายทั่วไป เช่น โปรแกรมประมวลผลคำ โปรแกรมตารางคำนวณ ใช้ระบบเครือข่าย และ โปรแกรมติดต่อสื่อสาร เพื่อให้เป็นสำนักงานไร้กระดาษ e-Office e-Meeting Video Teleconference 13 October 2007

18 e-Office 13 October 2007

19 13 October 2007

20 e-Meeting 13 October 2007

21 ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems)
เป็นระบบที่นำคอมพิวเตอร์มาใช้จัดการข้อมูลพื้นฐาน ที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ได้แก่การบันทึกข้อมูล การสรุปผล และการทำรายงาน เช่น ยอดขายประจำวัน ข้อมูลการสั่งซื้อสินค้าในแต่ละวัน การรับเงินและการจ่ายเงิน อาจใช้โปรแกรมที่สร้างขึ้นเฉพาะ หรือ ประยุกต์ใช้โปรแกรมชุดทั่วไป ระบบการสั่งซื้อ ระบบการขายสินค้า ระบบควบคุมสินค้าคงคลัง ระบบเงินเดือน ระบบบัญชี ระบบการเงิน 13 October 2007

22 ระบบจัดซื้อ/จ้าง 13 October 2007

23 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems - MIS)
เป็นระบบสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของผู้บริหารเพื่อช่วยในการตัดสินใจ ข้อมูลที่ผู้บริหารต้องการได้มาจากระบบประมวลผลรายการจากข้อมูลประจำวัน ตัวอย่าง เช่น รายงานยอดขายประจำสัปดาห์ รายงานการวิเคราะห์การขายแยกตามพื้นที่ รายงานการวิเคราะห์ต้นทุน รายงานงบประมาณประจำปี เป็นต้น 13 October 2007

24 กราฟแสดงการเปรียบเทียบยอดขาย ในแต่ละประเทศ
13 October 2007

25 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems)
เป็นระบบสารสนเทศที่จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ทำการตัดสินใจใช้ประกอบการตัดสินใจ เป็นระบบที่ง่ายต่อการเรียกใช้งานและการโต้ตอบ เป็นระบบที่มีการผสมผสานสารสนเทศที่มีอยู่ หรือเรียกใช้จากระบบสารสนเทศอื่น ๆ นำมาเปรียบเทียบ คำนวณ วิเคราะห์ คาดการณ์ นำเสนอในรูปของกราฟิก แผนงาน 13 October 2007

26 Decision Support System
13 October 2007

27 ประเภทของระบบสารสนเทศ & ผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
ประเภทของระบบสารสนเทศ & ผู้ใช้ระบบสารสนเทศ 13 October 2007

28 ประเภทของระบบสารสนเทศ (เพิ่มเติม)
5. ระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงการทำงานทั้งองค์กร (Enterprise-Wide Systems) 6. ระบบปัญญาประดิษฐ์และระบบผู้เชี่ยวชาญ (Artificial Intelligent Systems and Expert Systems) 7. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographical Information Systems) 13 October 2007

29 ระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงการทำงานทั้งองค์การ (Enterprise Wide Systems)
ระบบสารสนเทศที่มีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานทั้งหมดภายในองค์การ ระบบลูกค้า ระบบการผลิตสินค้า ระบบการขาย ระบบบัญชี และอื่น ๆ 13 October 2007

30 ระบบ Enterprise-Wide System
13 October 2007

31 ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)
เป็นระบบสารสนเทศที่พยายามจะรวบรวมและถ่ายทอดความรู้ (Knowledge) ให้กับผู้ใช้ระบบ เป็นการอธิบายวิธีการคิดที่ผู้เชี่ยวชาญใช้ เมื่อเผชิญกับสถานการณ์ต่างๆ ที่ต้องการหาคำตอบเพื่อต้องการแก้ปัญหาในด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ มีลักษณะการโต้ตอบแบบทันทีกับผู้ใช้ แทนค่าความรู้ในรูปแบบของเกณฑ์การตัดสินใจ 13 October 2007

32 ระบบผู้เชี่ยวชาญ 13 October 2007

33 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
เป็นระบบสารสนเทศที่สร้างและวิเคราะห์ข้อมูลสัณฐานของวัตถุทุกอย่างบนพื้นผิวโลก (Spatial) เกี่ยวกับระบบแผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศ แผนผังต่างๆ ลักษณะภูมิประเทศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ ใช้ในการจัดการและบริหารการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ใช้ติดตามการเปลี่ยนแปลงข้อมูลด้านพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 13 October 2007

34 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
เมื่อมีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงบรรยายร่วมกับข้อมูลเชิงพื้นที่ จะทำให้ระบบสารสนเทศสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในงานที่กว้างขวางมากขึ้น การประยุกต์ใช้สารสนเทศภูมิศาสตร์ การเกษตร และป่าไม้ ธรณีวิทยา อุทกศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติ ผังเมือง และอื่นๆ 13 October 2007

35 GIS & รายได้การเกษตร 13 October 2007

36 GIS & การประเมินราคาที่ดินรายแปลง
13 October 2007

37 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
1. การสำรวจข้อมูลเบื้องต้น (Preliminary Investigation) 2. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 3. การออกแบบระบบ (System Design) 4. การพัฒนาระบบ (System Development) 5. การติดตั้งระบบ (System Implementation) 6. การบำรุงรักษาระบบ (System Maintainance) 13 October 2007

38 วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การสำรวจเบื้องต้น ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่าย งบประมาณ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนาระบบ ความคุ้มค่าในการลงทุนและประโยชน์ ศึกษาเป้าหมายและความต้องการของผู้ใช้ 13 October 2007

39 วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
การวิเคราะห์ระบบ ศึกษาขั้นตอนการทำงานของระบบปัจจุบัน ศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบปัจจุบัน เก็บรวบรวมข้อมูลและความต้องการของผู้ใช้ ใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ได้แก่ Flowchart, DFD, E-R Diagram, Case Diagram… 13 October 2007

40 วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
การออกแบบระบบ เป็นการสร้างพิมพ์เขียวของระบบใหม่ตามความต้องการในเอกสารความต้องการระบบ กิจกรรมในขั้นตอนการออกแบบระบบ การออกแบบหน้าจอ การออกแบบฐานข้อมูล การออกแบบข้อมูลนำเข้าและรายงาน การออกแบบระบบควบคุมความปลอดภัยข้อมูล 13 October 2007

41 วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
เป็นขั้นตอนของการเขียนโปรแกรม การทดสอบการใช้งานของโปรแกรม การจัดทำคู่มือสำหรับการใช้งานระบบ การฝึกอบรมผู้ใช้งาน 13 October 2007

42 วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
การติดตั้งระบบ การเตรียมข้อมูลนำเข้าสู่ระบบ การเตรียมอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และเครือข่าย การติดตั้งโปรแกรมระบบปฏิบัติการ การติดตั้งระบบสารสนเทศ 13 October 2007

43 วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
การบำรุงรักษาระบบ เป็นขั้นตอนการปรับปรุงแก้ไขหลังจากที่มีการติดตั้งใช้งานแล้ว พัฒนาโปรแกรมเพิ่มเติม ในส่วนที่ผู้ใช้ต้องการ บำรุงรักษาระบบทั้งทางฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลา 13 October 2007

44 วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
13 October 2007

45 บุคคลากรในระบบสารสนเทศ
ผู้ใช้งาน (Users) พนักงาน ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ (Technicians) เจ้าหน้าที่ระบบ (Operators) ผู้พัฒนาระบบ (Developers) โปรแกรมเมอร์ (Programmers) นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysts) ผู้บริหารระบบ (System Administrators) 13 October 2007

46 บุคลากรในระบบสารสนเทศ โปรแกรมเมอร์
ผู้บริหาร พนักงาน 13 October 2007

47 บุคคลากรในระบบสารสนเทศ
นักวิเคราะห์ระบบ 13 October 2007

48 บุคคลากรในระบบสารสนเทศ
ผู้บริหาร 13 October 2007

49 คุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบ
มีความรู้ทางด้านธุรกิจขององค์กร มีความสามารถในการแก้ปัญหา มีสามารถในการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทน มีความรู้ในการเขียนโปรแกรม ติดตามความก้าวหน้าเทคโนโลยีอย่างสม่ำเสมอ มีประสบการณ์ในการทำงานด้านวิเคราะห์ระบบ มีความเป็นผู้นำ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 13 October 2007

50 ความเข้าใจไม่ตรงกัน 13 October 2007

51 นักวิเคราะห์ระบบ ความขัดแย้งในองค์กร 13 October 2007

52 นักวิเคราะห์ระบบ ความคิดเห็นที่หลากหลาย 13 October 2007

53 ระบบที่ไม่เสร็จสมบูรณ์
13 October 2007

54 ส วั ส ดี 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002


ดาวน์โหลด ppt ข้อมูล VS สารสนเทศ Data Information 13 October 2007

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google