ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กลุ่มที่ 6 อนามัยสิ่งแวดล้อม
2
ประเด็นนำเสนอ สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 1
ปัญหา/อุปสรรคที่พบ และการแก้ไขปัญหา ประเด็นนำเสนอ ข้อค้นพบจากการตรวจราชการ รอบที่ 1 เพื่อนำมาสู่ Intervention/ Innovation ประเด็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่สำคัญ
3
ผลสรุปการนิเทศงานคณะที่ 4 หัวข้อ 4.2
ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 2559 รอบที่ 1 ประเด็นการตรวจนิเทศ : จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุน การจัดการมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาลสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ให้ถูกต้องตามกฎหมาย และมีระบบ และกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยทั่วไปขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นให้ถูกหลักสุขาภิบาล
4
สิ่งที่น่าสนใจ สถานการณ์ จากข้อมูล 9 เขต 59 จังหวัด พบว่า
ทุกจังหวัดมีฐานข้อมูล ทั้งในเรื่องมูลฝอยทั่วไปและมูลฝอยติดเชื้อแล้ว 39 จังหวัดมีฐานข้อมูล เรื่องขยะติดเชื้อครบถ้วน ตามแบบข้อมูลของกรม 14 จังหวัดมีฐานข้อมูล เรื่องมูลฝอยทั่วไปครบถ้วน ตามแบบข้อมูลของกรม โรงพยาบาลแม่ข่ายแสดง บทบาทที่สำคัญในการเชื่อม ประสานการจัดการมูลฝอย ติดเชื้อให้กับระบบบริการ ที่มีอยู่ในพื้นที่ ส่วนใหญ่ใช้เอกชนขนส่งและ กำจัด อาจพลิกผันกลับไปสู่ การจัดการโดยท้องถิ่นหรือ แหล่งกำเนิดมูลฝอยติดเชื้อเอง รพ.สต.หลายแห่งได้พัฒนา รูปแบบการขนส่งไปยังแม่ข่าย และรูปแบบของที่พักมูลฝอยติด เชื้อ สถานการณ์
5
บทบาท อสธจ. EHA เทศบาลใน 59 จังหวัด มี 1,980 แห่ง
พบว่า อสธจ. 36 จังหวัด มีมติขับเคลื่อน เรื่องมูลฝอยทั่วไปหรือมูลฝอยติดเชื้อ อสธจ. 30 จังหวัดมีมติผลักดัน การขับเคลื่อนเรื่องมูลฝอยติดเชื้อ (50.8%) อสธจ. 29 จังหวัดมีมติผลักดัน การขับเคลื่อนเรื่องมูลฝอยทั่วไป (49.2%) 53 จังหวัด มีแผนการจัดการมูลฝอย ติดเชื้อที่ชัดเจน (89.8%) เทศบาลใน 59 จังหวัด มี 1,980 แห่ง ได้รับการประเมินผ่าน EHA 4001 จำนวน 436 แห่ง ประเมินแล้วไม่ผ่าน EHA จำนวน 440 แห่ง เทศบาลที่ยังไม่ถูกประเมิน 1,104 แห่ง
6
การตรวจนิเทศงาน สถานการณ์
คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) มีมติและการติดตามมติจากที่ประชุม อสธจ.เพื่อขับเคลื่อน ประเด็นงานอนามัยสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 2 เรื่อง 53 จังหวัด มีแผนการจัดประชุม 3 ครั้งขึ้นไป (6 จังหวัดมีแผน 2 ครั้ง) เริ่มจัดประชุมไปแล้ว 35 จังหวัด(ประมาณ 60%) (เหลือ24 จังหวัดยังไม่ได้ประชุม) สถานการณ์
7
ประเด็นที่เข้าสู่วาระ อสธจ.
บ่อยครั้งที่สุด : การจัดการมูลฝอยทั่วไป เน้นไปที่การจัดการขยะต้นทาง การคัดแยกขยะ การลดปริมาณขยะ การจัดการ ขยะชุมชน เป็นต้น รองลงมา : การจัดการสิ่งปฏิกูล มูลฝอยติดเชื้อ การพัฒนาระบบ บริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น (EHA) การออกข้อกำหนด ท้องถิ่น และการบังคับใช้กฎหมาย ประเด็นอาหารปลอดภัย การพัฒนา ตลาดทั้ง 2 ประเภท การลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร ส้วม สาธารณะ การจัดทำข้อมูลสถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อม การแก้ไขปัญหาเรื่อง เหตุรำคาญ ประเด็นเฉพาะพื้นที่ เช่น ปัญหาขยะอิเลคทรอนิกส์ ปัญหาการใช้เครื่องทำ น้ำอุ่นด้วยแก๊ส ปัญหาฝุ่นละอองและหมอกควันในอากาศ การคัดเลือกถนนอาหาร ปลอดภัย และการพัฒนาระบบประปาดื่มได้ การกำหนดแผนแม่บทด้าน การจัดการสิ่งแวดล้อมของจังหวัด ประเด็นการป้องกันโรคและปัญหาสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม เช่น การ ป้องกันไข้เลือดออก การป้องกันโรคมือเท้าปาก การป้องกันโรคมะเร็งตับ การ ป้องกันอุบัติเหตุจราจร เป็นต้น
8
มูลฝอยติดเชื้อ ปัญหา/อุปสรรค การแก้ไขปัญหา
รพ. คุณภาพการจัดการมูลฝอย ติดเชื้อ ตามกฎกระทรวง พ.ศ (7 ด้าน) ไม่ได้ 100% ภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อไม่มีเครื่องหมาย และสัญลักษณ์ สถานที่พักมูลฝอยรวม ลักษณะอาคารไม่ได้ตาม มาตรฐาน การกำกับติดตามการกำจัด บริษัทที่รับเก็บขน สถานที่กำจัดไม่เพียงพอ (เพิ่มยาก ชาวบ้านต่อต้าน) อปท. ยังขาดความเข้าใจในหน้าที่ในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ถุงล้างไตที่มีการนำมารีไซเคิล การแก้ไขปัญหา นำเสนอข้อมูลผ่าน อสธจ. จังหวัดดำเนินการจัดซื้อในภาพรวม/สกรีน เครื่องหมาย สัญลักษณ์ ลงในภาชนะ นิเทศ ติดตาม ให้คำแนะนำ สนับสนุนการใช้ Manifest ในการกำกับติดตามให้เก็บขน เพิ่มศักยภาพของเตาเผา อปท. ที่มีอยู่ให้สามารถดำเนินการได้ ปรับปรุงเตาเผา ของ รพ. ที่มีอยู่ ให้สามารถเผาขยะได้ ส่งเสริม อปท. ประเมิน EHA 400/และเร่งรัดการออกข้อกำหนดของท้องถิ่น จัดทำคู่มือ และแนวทางการจัดการ
9
ข้อค้นพบ จากการตรวจราชการ
มูลฝอยติดเชื้อ จ.กาฬสินธุ์ มีการบริหารจัดการ ทั้งงบประมาณ และวิธีการ จ.นนทบุรี กำจัดโดย อปท. จ.ปทุมธานี จัดการได้ครอบคลุมทุกแหล่ง (คลินิก) จ.อ่างทอง กำหนดเป็นตัวชี้วัดจังหวัด ให้จัดอบรมผู้ประกอบการ และเจ้าหน้าที่ จ.สตูล ฟื้นฟูเตาเผาของ รพ. และซื้อรถเพื่อรวบรวม ขนส่งขยะไปเผา ข้อค้นพบ จากการตรวจราชการ กรมอนามัยจัดทำทะเบียน/เรียงลำดับบริษัทเก็บขนที่มีประสิทธิภาพ ปรับปรุงระบบ manifest ให้มีประสิทธิภาพ พัฒนาการประเมินคุณภาพการจัดการ มูลฝอยติดเชื้อเป็นระบบออนไลน์ ส่งเสริม/มีนโยบาย ให้กำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ณ แหล่งกำเนิดให้มากที่สุด ส่งเสริมศักยภาพของเตาเผาขยะของ อปท. ที่มีอยู่ให้สามารถให้บริการได้นาน และมีประสิทธิภาพ (ฟื้นฟูเตาเผาเดิมที่มีอยู่) ประสานชมรม IC บรรจุในกฎกระทรวง (ลงในหลักการ) ข้อเสนอเชิงนโยบาย
10
อสธจ. : คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด
เลขาฯ อสธจ. ไม่ค่อยให้ความสำคัญต่อการประชุม อสธจ. การขับเคลื่อนมติยังไม่เข้มข้น ผู้ช่วยเลขา อสธจ. ยังไม่สามารถนำเสนอประเด็นสู่ อสธจ. อสธจ. เป็นผู้แทนมากกว่าตัวจริง ทำให้การเสนอข้อคิดเห็น และมติไม่เด็ดขาด ปัญหา/อุปสรรค การแก้ไขปัญหา กรมอนามัย ควรนำเสนอให้ผู้บริหารกระทรวงกำชับ/ศูนย์ฯ สร้างความเข้าใจกับผู้บริหาร พัฒนาศักยภาพของผู้ช่วยเลขา ในการเตรียมข้อมูล/วาระการประชุม โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างจังหวัด สร้างทีมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนและติดตามมติจากหน่วยงานอื่นร่วมเป็นทีม ผู้ช่วยเลขา ควรเสนอข้อมูลที่ให้หน่วยงานอื่นๆ มีส่วนร่วมในการประชุม สร้างกลไกการขับเคลื่อนทุกระดับ (อำเภอ ตำบล)
11
อสธจ. : คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด
ข้อค้นพบ จากการตรวจราชการ จ.สกลนคร, ยโสธร, นครพนม มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานและขับเคลื่อนมติ พัฒนาทีมเลขา อสธจ. เพื่อขับเคลื่อนงานได้ตามมติ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพของ การดำเนินงานของ อสธจ. ข้อเสนอเชิงนโยบาย
12
EHA : การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Environmental Health Accreditation) ท้องถิ่นจังหวัดยังไม่มีความเข้าใจเรื่อง EHA อปท. สมัครช้า ไม่ทันตามกำหนด (15 เม.ย. 59) ผู้ตรวจประเมิน EHA ไม่เพียงพอ ใบสมัคร EHA ของกรม ในเว็บไซต์ สร้างความสับสน ปัญหา/อุปสรรค การแก้ไขปัญหา เชิญท้องถิ่นจังหวัดมาเป็นวิทยากร ท้องถิ่นจังหวัดกับการสนับสนุน EHA เชิญท้องถิ่นจังหวัด, อำเภอ เป็นทีมตรวจประเมิน พัฒนาผู้ประเมินให้ครอบคลุมจังหวัด (จังหวัดใหญ่ จำนวน Instructor ให้มากขึ้น) หรือใช้ทีม Instructor ของจังหวัดภายในเขต (เพื่อนช่วยเพื่อน) ปรับใบสมัครใหม่ให้สอดคล้องกับข้อตกลงของการประเมิน (ส่งใบสมัคร ที่ สสจ.)
13
ข้อค้นพบ จากการตรวจราชการ
EHA : การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Environmental Health Accreditation) หลายจังหวัดผลักดัน EHA เข้าในมติของ อสธจ. เช่น อุบลราชธานี, ศรีษะเกษ, สกลนคร, นครพนม จังหวัดสกลนครกำหนดเป็นตัวชี้วัดของผู้ว่าราชการจังหวัดในการจัดการขยะ ทุกหมู่บ้านมีธนาคารขยะ และมีการติดตามผ่านกรรมการจังหวัด, สาธารณสุขอำเภอ ข้อค้นพบ จากการตรวจราชการ อบรมผู้ประเมินให้เร็วขึ้น ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานให้เร็วขึ้น ปรับแบบประเมิน EHA ให้เหมาะสม ข้อเสนอเชิงนโยบาย
14
สิ่งปฏิกูล การแก้ไขปัญหา ปัญหา/อุปสรรค
พัฒนารูปแบบการจัดการสิ่งปฏิกูล ที่เหมาะสมกับพื้นที่ เช่น บ่อทรายกรอง อบรมให้ความรู้แก่ อปท. และ ผู้ประกอบการ ในเรื่องการจัดการ ส่งเสริมการออกข้อกำหนดของท้องถิ่น ผลักดันผ่าน อสธจ. ให้ อปท. สร้าง ระบบบำบัด รูปแบบการจัดการสิ่งปฏิกูล ที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ มีน้อย ราคาสูง และการจัดการ ค่อนข้างยาก ผู้ประกอบการ /อปท. รถสูบส้วม ขาดความรู้ความเข้าใจเรื่อง การจัดการสิ่งปฏิกูล ไม่มีที่กำจัดสิ่งปฏิกูล ที่ถูกสุขลักษณะ ปัญหา/อุปสรรค
15
ข้อค้นพบจากการตรวจราชการ
สิ่งปฏิกูล จังหวัดที่มีระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล ครบทุกอำเภอ (สกลนคร) ผู้ประกอบการ เสนอให้ อปท. ทุกแห่งมีสถานที่กำจัดสิ่งปฏิกูล ข้อค้นพบจากการตรวจราชการ จัดทำ/พัฒนาระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล ที่เหมาะสมกับพื้นที่และงบประมาณ ที่ อปท. สามารถดำเนินการได้ ผลักดันผ่าน อสธจ. ข้อเสนอเชิงนโยบาย
16
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.