ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
1
2
หัวข้อบรรยาย พรฎ. กิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 ความหมายและคำจำกัดความ
หลักเกณฑ์วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิต แนวคิดเกี่ยวกับผลผลิตย่อยกิจกรรมย่อย
3
ความเป็นมา
4
หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
ความเป็นมา พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ และ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 4
5
ให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุน ในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึ้น
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคแรก ให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุน ในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด
6
ให้ส่วนราชการคำนวณรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะที่รับผิดชอบ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคสอง ให้ส่วนราชการคำนวณรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะที่รับผิดชอบ ตามระยะเวลาที่กรมบัญชีกลางกำหนด และ รายงานให้ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ
7
ให้ส่วนราชการจัดทำแผนการลดรายจ่ายต่อหน่วย
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคสาม ให้ส่วนราชการจัดทำแผนการลดรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะดังกล่าว เสนอ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ
8
วัตถุประสงค์ของการคำนวณต้นทุนผลผลิต
1 พัฒนาการบริหารจัดการทางการเงินที่ดี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) เพิ่มความรับผิดชอบต่อสาธารณะ Accountability เพิ่มความสามารถในการตัดสินใจในการการบริหารจัดการ การวัดผลการดำเนินงาน 8
9
ประโยชน์ของข้อมูลต้นทุน
5 ด้าน (ข้อมูลจาก “การบัญชีเพื่อการบริหารต้นทุนภาครัฐ” มาตรฐานการบัญชีการเงินภาครัฐ ฉบับที่ 4) 1. การควบคุมต้นทุนและงบประมาณ 2. การวัดผลการดำเนินงาน 3. การกำหนดค่าธรรมเนียม (เช่น มหาวิทยาลัย) 4. ประเมินความเหมาะสมของกิจกรรม 5. การตัดสินใจของคำนึงถึงความเหมาะสมทางการเงิน
10
ความหมายและคำจำกัดความ
11
ความหมายและคำจำกัดความ
การบัญชีต้นทุน Cost accounting หมายถึง การบัญชีเกี่ยวกับการบันทึก การจำแนก การปันส่วน การสรุป และการรายงาน ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนผลิตภัณฑ์หรือบริการให้กับ ผู้บริหาร
12
ความหมายและคำจำกัดความ
ต้นทุน Cost หมายถึง รายจ่าย เพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้าหรือ บริการ ซึ่งอาจเป็นเงินสด สินทรัพย์อื่น หรือการก่อหนี้ ผูกพัน ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มาซึ่งสินค้าและ บริการ
13
ความหมายและคำจำกัดความ
ต้นทุนทางตรง Direct Cost หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่สามารถระบุเข้าสำนัก กอง ศูนย์ กลุ่มที่เป็นผู้ผลิตผลผลิตได้อย่างเจาะจงว่า ใช้ไปเท่าไรในการผลิตผลผลิตใด
14
ความหมายและคำจำกัดความ
ต้นทุนทางอ้อม Indirect Cost หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่หลายๆ สำนัก กอง ศูนย์ กลุ่มใช้ร่วมกันในการผลิตผลผลิต ไม่เป็น ค่าใช้จ่ายเฉพาะของ Cost Center ใดเพียงแห่งเดียว
15
ความหมายและคำจำกัดความ
การปันส่วนต้นทุน Allocation หมายถึง การแบ่งส่วนค่าใช้จ่ายไปยัง กิจกรรม กระบวนการผลิต การดำเนินงาน หรือ ผลผลิตตามเกณฑ์ต่างๆ
16
ความหมายและคำจำกัดความ
ต้นทุนรวม Full Cost หมายถึง ผลรวมของต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้น ในการผลิตผลผลิตของหน่วยงาน โดยไม่ต้องคำนึง แหล่งเงินทุน และเป็นการคำนวณจากตัวเลขค่าใช้จ่าย ที่บันทึกบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง
17
ความหมายและคำจำกัดความ
ผลผลิต Output หมายถึง ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หน่วยงาน ภาครัฐทำการผลิตและส่งมอบให้กับบุคคลภายนอก ใช้เป็นเกณฑ์ในการกำหนดราคาผลผลิต และจัดสรร เงินลงทุน หลักในการพิจารณาแนวโน้มการดำเนินงาน เพื่อวัดผลการดำเนินงาน
18
ความหมายและคำจำกัดความ
งานบริการสาธารณะ Public Service หมายถึง ผลผลิตของหน่วยงานภาครัฐ ที่มุ่งเน้นประโยชน์สุขแก่ประชาชนโดยทั่วถึง
19
ความหมายและคำจำกัดความ
หน่วยต้นทุน Cost Center หมายถึง หน่วยงานภายในส่วนราชการที่ กำหนดขึ้นตามโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ ซึ่งแต่ละหน่วยงานจะมีการดำเนินกิจกรรมที่ต้องใช้ ทรัพยากรหรือต้นทุนในการผลิตผลผลิต
20
ความหมายและคำจำกัดความ
หน่วยงานหลัก Functional Cost Center หมายถึง หน่วยงานที่มีหน้าที่ โดยตรงในการสร้างผลผลิต หรือมีส่วนร่วมในการ สร้างผลผลิตของหน่วยงาน
21
ความหมายและคำจำกัดความ
หน่วยงานสนับสนุน Support Cost Center หมายถึง หน่วยงานที่ทำหน้าที่ให้ บริการกับหน่วยงานหลัก หรือทำงานสนับสนุน
22
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต
แนวคิด โครงสร้างแบ่งส่วนราชการของกรมฯ เป็นสำนัก กลุ่ม กอง ศูนย์ ตามภาระกิจที่สอดคล้องกับพันธกิจ ตามกฎกระทรวง แต่ละสำนัก กอง ศูนย์ มีกิจกรรม เฉพาะเพื่อสร้างผลผลิตที่แต่ละแห่งรับผิดชอบ
23
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ได้ข้อมูลต้นทุนงานของแต่ละส่วนงาน อันจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารทุกระดับ ในการวัดผลการดำเนินงาน และปรับปรุง เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
24
หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต
Cost จาก GL สำนัก กอง ศูนย์ กิจกรรม หลัก ค่าใช้จ่าย ทางตรง 100 กิจกรรม 1 ผลผลิต 1 หลัก หลัก กิจกรรม 2 หลัก หลัก ผลผลิต 2 หลัก กิจกรรม 3 รวม 110 ค่าใช้จ่าย ทางอ้อม 30 สนับสนุน 6 + 4 กิจกรรม 4 ผลผลิต 3 สนับสนุน 4 + 6 รวม 20 กิจกรรม 5 รวมทั้งหมด 130 รวม 130 24
25
ตัวชี้วัด ที่ 11 ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
26
KPI เปรียบเทียบ ปี 50/51 ของส่วนราชการ
ปี 51 1. จัดทำฐานข้อมูล 2. จัดทำบัญชีต้นทุนปี 48 ปี 49 3. เปรียบเทียบวิเคราะห์ต้นทุนตาม (2) 4. จัดทำต้นทุน 6 เดือน ปี 50 5. วางแผนเพิ่มประสิทธิภาพ สำหรับปี 51 1. คำนวณต้นทุนปี 50 2. เปรียบเทียบปี *3. ทบทวนภารกิจเพื่อกำหนดข้อมูล - กิจกรรมย่อย เชื่อมโยง กิจกรรมหลัก - ผลผลิตย่อย เชื่อมโยง ผลผลิตหลัก พร้อมหน่วยนับ *4. จัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อย - งานสนับสนุน 5 กิจกรรมย่อย - งานหลัก กิจกรรมย่อย - ผลผลิต ผลผลิตย่อย 5. วางแผนเพิ่มประสิทธิภาพ สำหรับปี 52 * เป็นกิจกรรมใหม่ ต้องทำข้อ 3 ก่อน จึงจะทำ 4 ได้
27
แนวทางการประเมินผล ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 1
ขั้นตอนที่ 1 : จัดทำบัญชีต้นทุน ต่อหน่วยผลผลิตของปีงบประมาณ พ.ศ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนดได้แล้วเสร็จและรายงานผลการคำนวณต้นทุนตามรูปแบบที่กรมบัญชีกลางกำหนด โดยเสนอสำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสำนักงาน ก.พ.ร. ทราบ ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการจัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ดังนี้ รายงานผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของปีงบประมาณ พ.ศ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด ที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้มีอำนาจ ทั้งนี้ วันที่แล้วเสร็จของรายงานผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต อ้างอิงจากวันที่ผู้มีอำนาจลงนามเห็นชอบต่อรายงานฯ ดังกล่าว สำเนาหนังสือนำส่งรายงานฯ ให้กับสำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสำนักงาน ก.พ.ร.
28
แนวทางการประเมินผล ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 2
ขั้นตอนที่ 2 : เปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ และปีงบประมาณ พ.ศ ว่ามีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างไร พร้อมทั้งวิเคราะห์ถึงสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวและจัดทำรายงานสรุปผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตได้แล้วเสร็จ ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดำเนินงานเช่นเดียวกับระดับคะแนน 1 พร้อมทั้ง รายละเอียดการวิเคราะห์ผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตที่ได้จัดทำแล้วเสร็จในขั้นตอนที่ 2 ดังนี้ รายงานสรุปผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้มีอำนาจ โดยเนื้อหาของรายงานฯ ดังกล่าว ประกอบด้วย - สรุปผลการเปรียบเทียบและวิเคราะห์ผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ และปีงบประมาณ พ.ศ ในต้นทุนผลผลิตภาพรวม พร้อมทั้งเปรียบเทียบและวิเคราะห์ต้นทุนผลผลิต กิจกรรมตามหน่วยงาน (หน่วยงานหลักและหน่วยงานสนับสนุน)
29
แนวทางการประเมินผล ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 2
ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ - สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในต้นทุนผลผลิตภาพรวม และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในต้นทุนผลผลิต กิจกรรมตามหน่วยงาน (หน่วยงานหลักและหน่วยงานสนับสนุน) ทั้งนี้ วันที่แล้วเสร็จของรายงานสรุปผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต อ้างอิงจากวันที่ผู้มีอำนาจลงนามเห็นชอบต่อรายงานฯ ดังกล่าว
30
แนวทางการประเมินผล ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 3
ขั้นตอนที่ 3 : ทบทวนภารกิจเพื่อจัดทำข้อมูลผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อยพร้อมปริมาณและหน่วยนับทั้งองค์กร สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดำเนินงานเช่นเดียวกับระดับคะแนน 1 และ 2 พร้อมทั้งเอกสาร หลักฐานที่แสดงถึงการทบทวนภารกิจเพื่อจัดทำข้อมูลผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อมพร้อมปริมาณและหน่วยนับดังนี้ คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อวิเคราะห์ผลผลิตย่อยและกิจกรรมย่อยพร้อมปริมาณและหน่วยนับของทั้งองค์กร หรือเอกสารการมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบโดยคณะกรรมการดังกล่าวประกอบด้วยผู้บริหาร หรือ ผู้แทนจากทุกศูนย์ต้นทุน จัดทำเอกสารการกำหนดผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อย พร้อมปริมาณและหน่วยนับขององค์กร โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการฯ และนำเสนอหัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบ
31
แนวทางการประเมินผล ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 4
ขั้นตอนที่ 4 : จัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อย โดยจัดให้มีการคำนวณต้นทุนอย่างน้อย ดังนี้ 1) กิจกรรมของหน่วยงานสนับสนุน 5 กิจกรรมย่อย (ด้านการเงินและการบัญชี ด้านการพัสดุ ด้านบริหารบุคคล ด้านพัฒนาทรัพยากรบุคคล ด้านการตรวจสอบภายใน) ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดำเนินงานเช่นเดียวกับระดับคะแนน 1, 2 และ 3 พร้อมทั้งเอกสาร หลักฐานที่แสดงถึงการจัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อย รายงานผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต กิจกรรม ผลผลิตย่อย และกิจกรรมย่อยของปีงบประมาณ พ.ศ ตามหลักเกณฑ์วิธีการและรูปแบบรายงานที่กรมบัญชีกลางกำหนด ทั้งนี้ วันที่แล้วเสร็จของรายงานผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต อ้างอิงจากวันที่ผู้มีอำนาจลงนามเห็นชอบต่อรายงานฯ ดังกล่าว
32
แนวทางการประเมินผล ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 4
ขั้นตอนที่ 4 : 2) กิจกรรมของหน่วยงานหลัก 1 กิจกรรมย่อย 3) ผลผลิตย่อย 2 ผลผลิต ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ สำเนาหนังสือนำส่งรายงานฯ ให้กับสำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสำนักงาน ก.พ.ร. ในการจัดทำบัญชีต้นทุนของปีงบประมาณ พ.ศ ต้องใช้ข้อมูลทางบัญชี ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2550 – 30 กันยายน 2551 จึงต้องประมวลผลต้นทุนในเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน เพื่อให้มีการติดตามประเมินผลในเดือนพฤศจิกายน เป็นต้นไป
33
แนวทางการประเมินผล ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 5
ขั้นตอนที่ 5 : นำผลการดำเนินงานที่ได้จากขั้นตอนที่ 2 และขั้นตอนที่ 4 ไปกำหนดแนวทางหรือแผนการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานสำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดำเนินงานเช่นเดียวกับระดับคะแนน 1, 2, 3 และ 4 พร้อมทั้งเอกสาร หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าส่วนราชการได้นำผลการคำนวณและวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตไปกำหนดแนวทางหรือแผนการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานสำหรับปีงบประมาณ พ.ศ เช่น แนวทางหรือแผนการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ ที่ส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดของแนวทางหรือแผนฯ อ้างอิงจากผลการคำนวณและวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต บันทึกข้อความ/รายงานการประชุมที่เกี่ยวกับการนำผลการคำนวณและวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตไปกำหนดแนวทางหรือแผนการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
34
แนวทางการคำนวณต้นทุนผลผลิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2551
35
วิธีการจัดทำต้นทุนผลผลิตในปีงบประมาณ พ.ศ.2551
36
การคำนวณหาต้นทุนของกิจกรรมย่อย
37
การคำนวณหาต้นทุนของผลผลิตย่อย
วิธีที่ 1 ในกรณีที่ส่วนราชการสามารถคำนวณหาต้นทุนกิจกรรมย่อยทุกกิจกรรมย่อย
38
การคำนวณหาต้นทุนของผลผลิตย่อย
วิธีที่ 2 ในกรณีส่วนราชการไม่ได้คำนวณหาต้นทุนกิจกรรมย่อยในบางกิจกรรม
39
การคำนวณหาต้นทุนของกิจกรรมหลัก
วิธีที่ 1 ในกรณีส่วนราชการคำนวณหาต้นทุนกิจกรรมย่อยทุกกิจกรรมย่อย และคำนวณหาต้นทุนผลผลิตย่อยได้
40
การคำนวณหาต้นทุนของกิจกรรมหลัก
วิธีที่ 2 ในกรณีส่วนราชการไม่ได้คำนวณหาต้นทุนกิจกรรมย่อยทุกกิจกรรมย่อยและ ไม่สามารถเชื่อมโยงต้นทุนจากผลผลิตย่อยไปยังกิจกรรมหลักได้
41
การคำนวณหาต้นทุนของผลผลิตหลัก
การคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักให้คำนวณจากต้นทุนกิจกรรมหลัก ตามเอกสารงบประมาณที่สัมพันธ์กับผลผลิตโดยเชื่อมโยงต้นทุนกิจกรรมหลักเข้าสู่ผลผลิตหลัก
42
การวางแผนเพิ่มประสิทธิภาพ
Input Process Output Economy Value-added Quantity Quality Time
43
การประหยัดทรัพยากร องค์กรกำหนดนโยบายการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด
จัดโครงการรณรงค์การใช้ทรัพยากร ประเมินความคุ้มค่าการใช้ทรัพยากร พิจารณาว่าทรัพยากรใดที่ไม่ถูกใช้งาน หรือ ใช้งานยังไม่เต็มกำลัง การจัดซื้อจัดจ้างด้วยราคาที่เหมาะสม
44
ประสิทธิภาพด้านกระบวนการ
พิจารณากิจกรรมทั้งองค์กร เพื่อดูความซ้ำซ้อนของกิจกรรม เปรียบเทียบประสิทธิภาพของกิจกรรมที่เหมือนกันระหว่างหน่วยงานย่อยภายในองค์กร ลดกระบวนการกิจกรรมที่ไม่จำเป็นออกไป
45
ประสิทธิภาพของการสร้างผลผลิต
ปรับปรุงคุณภาพของผลผลิตให้ประชาชนพึงพอใจ พิจารณาเพิ่มปริมาณผลผลิตให้ใช้ทรัพยากรคงที่อย่างเต็มประสิทธิภาพ ลดระยะเวลาการรอคอยการรับบริการของประชาชน
46
ตัวอย่างแผนเพิ่มประสิทธิภาพ ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ตัวอย่างแผนเพิ่มประสิทธิภาพ ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2551 ผลผลิต ต้นทุนรวม(บาท) ปริมาณงาน ต้นทุนต่อหน่วย การให้บริการฉายรังสี 25,000,000 4,000,000 ครั้ง 6.25 บาทต่อครั้ง การให้ตรวจสารเคมี 48,000,000 200,000 ครั้ง 240 บาทต่อครั้ง
47
กิจกรรม สถานะปัจจุบัน เป้าหมาย
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กิจกรรม สถานะปัจจุบัน เป้าหมาย 1. นโยบายใช้กระดาษ Recycle ลดการใช้กระดาษ มีการใช้กระดาษ 300,000 แผ่นต่อปี ต้นทุน 150,000 บาท มีการใช้กระดาษ 200,000 แผ่นต่อปี ต้นทุน 90,000 บาท 2. นโยบายลดการใช้หมึกพิมพ์โดยใช้โหมดประหยัดหมึกสำหรับหนังสือร่าง มีการใช้ผงหมึก 2,000 ตลับ ต่อปี ต้นทุน 400,000 บาท มีการใช้ผงหมึก 1,500 ตลับ ต่อปี ต้นทุน 300,000 บาท 3. จัดให้มีการประชุม VDO conference มากขึ้นเพื่อ ลดการเดินทางการจัดประชุม มีค่าใช้จ่ายในการเดินทางประชุมครั้งละ 50,000 บาท มีการประชุม 100 ครั้งต่อปี มีค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น 5,000,000 บาท มีการติดตั้งระบบ VDO conference โดยมีค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง 1,000,000 บาท และมีค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาปีละ 200,000 บาท และมีค่าใช้จ่ายในการเดินทางประชุมก่อนติดตั้งระบบ 1,500,000 บาท
48
กิจกรรม สถานะปัจจุบัน เป้าหมาย
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กิจกรรม สถานะปัจจุบัน เป้าหมาย 4. ลดกิจกรรมการเก็บคลังวัสดุ มีต้นทุนในการบำรุงรักษาคลังวัสดุประมาณ 2,000,000 บาทต่อปี จัดให้มีระบบการจัดการวัสดุแบบ JIT มีต้นทุนในการวางระบบ 500,000 บาท และค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการระบบ 100,000 บาทต่อปี และค่าใช้จ่ายคลังวัสดุระบบเดิมก่อนปรับปรุง 600,000 บาท 5. มีการจ้างเอกชนในงานการดูแลบำรุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และโยกย้ายบุคลากรเดิมและทรัพยากรที่ทำงานอยู่ไปปฏิบัติงานด้านการออกแบบระบบงานสถิติ (งานใหม่) มีค่าใช้จ่ายในการดูแลบำรุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยบุคลากรภายใน มีต้นทุน 5,000,000 บาทต่อปี มีค่าใช้จ่ายในการดูแลบำรุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยบุคลากรภายนอก มีต้นทุน 2,000,000 บาทต่อปี และมีค่าใช้จ่ายในการออกแบบระบบงานสถิติ มีต้นทุน 5,000,000 บาทต่อปี
49
กิจกรรม สถานะปัจจุบัน เป้าหมาย
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กิจกรรม สถานะปัจจุบัน เป้าหมาย 6. ขายเครื่องจักรเก่าและซื้อเครื่องจักรใหม่แทนเครี่องจักรเก่าเพื่อเพิ่มกำลังการให้บริการการฉายรังสี เครื่องจักรในการบริการฉายรังสี 2 เครื่อง มีค่าเสื่อมราคา 40,000 บาทต่อปี มีค่าซ่อมบำรุง 10,000 บาท มีกำลังการผลิต 500 ครั้งต่อวัน และไม่เพียงพอให้ประชาชนใช้บริการ ต้นทุนต่อหน่วย 100 บาทต่อครั้ง ขายเครื่องจักรเก่า 2 เครื่อง ขาดทุน 20,000 บาท เครื่องจักรใหม่มีค่าเสื่อมราคา 70,000 บาทต่อปี มีอายุการใช้งาน 10 ปีไม่มีค่าซ่อมบำรุงใน 3 ปีแรก ปีที่ 4 –10 มีค่าซ่อมบำรุงประมาณปีละ 15,000 บาท มีกำลังการผลิต 1,000 ครั้งต่อวัน และมีประชาชนมาใช้บริการโดยเฉลี่ย 900 ครั้งต่อวัน ดังนั้นต้นทุนต่อหน่วยปีที่ 1 เท่ากับ 100 บาทต่อครั้ง ปีที่ เท่ากับ บาทต่อครั้ง และ หน่วยปีที่ 4-10 เท่ากับ บาทต่อครั้ง
51
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กิจกรรม ระยะเวลา ตามแผน เป้าหมาย ระยะเวลาจริง ผลการดำเนินงาน เหตุผล 1. นโยบายใช้กระดาษ Recycle ลดการใช้กระดาษ ต.ค.51-ก.ย.52 มีการใช้กระดาษ 20,000 แผ่นต่อปี ต้นทุน 90,000 บาท ม.ค.52-ก.ย.52 มีการใช้กระดาษ 25,000 แผ่น ต่อปี ต้นทุน 150,000 บาท เนื่องจากปริมาณผลผลิตที่ 2 เพิ่มขึ้นจากเป้าหมายที่กำหนดไว้ ทำให้มีการใช้กระดาษเพิ่มขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม ไม่ได้ส่งผลกระทบให้ผลผลิตที่ 2 มีต้นทุนต่อหน่วยเพิ่มขึ้น 2. นโยบายลดการใช้หมึกพิมพ์โดยใช้โหมดประหยัดหมึกสำหรับหนังสือร่าง มีการใช้ผงหมึก 1,500 ตลับต่อปีต้นทุน 300,000 บาท มีการใช้ผงหมึก 1,200 ตลับต่อปีต้นทุน 240,000 บาท เนื่องจากมีมาตรการรณรงค์ที่ต่อเนื่องและมีการปรับโหมดการใช้งานของเครื่องพิมพ์ และมีการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้นทำให้ลดการพิมพ์กระดาษ
52
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กิจกรรม ระยะเวลา ตามแผน เป้าหมาย ระยะเวลาจริง ผลการดำเนินงาน เหตุผล 3. จัดให้มีการประชุม VDO conference มากขึ้นเพื่อ ลดการเดินทางการจัดประชุม ม.ค.52-ก.ย.52 มีการติดตั้งระบบ VDO conference โดยมีค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง 1,000,000 บาท และมีค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาปีละ 200,000 บาท และมีค่าใช้จ่ายในการเดินทางประชุมก่อนติดตั้งระบบ 1,500,000 บาท มีการติดตั้งระบบ VDO conference โดยมีค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง 1,000,000 บาท และมีค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาปีละ 200,000 บาท โดยมีค่าใช้จ่ายในการเดินทางประชุมก่อนติดตั้งระบบ 1,400,000 บาท ค่าใช้จ่ายในการเดินทางหลังการติดตั้ง 300,000 บาท ดังนั้น ค่าใช้จ่ายในการเดินทางจัดประชุมปีงบประมาณ พ.ศ.2552 เนื่องจากการติดตั้งระบบ VDO conference ยังไม่ครอบคลุม การจัดการประชุมบางครั้งต้องเดินทางไปร่วมประชุมจึงมีค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ซึ่งค่าใช้จ่ายในการเดินทางหลังการติดตั้งเหลือ 300,000 บาท
53
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กิจกรรม ระยะเวลา ตามแผน เป้าหมาย ระยะเวลาจริง ผลการดำเนินงาน เหตุผล ประกอบด้วย ค่าตัดจำหน่ายระบบ 150,000 บาท ค่าบำรุงรักษา 150,000 บาท ค่าใช้จ่ายในการเดินทางประชุมก่อนติดตั้งระบบ 1,400,000 บาท และค่าใช้จ่ายในการเดินทางหลังการติดตั้ง 300,000 บาท รวมทั้งสิ้น 2,000,000 บาท หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายค่าติดตั้งมีการตัดจำหน่าย 9 เดือน 150,000 บาท (ค่าติดตั้ง 1,000,000 บาท การตัดจำหน่าย 5 ปี ปีละ 200,000 บาท ซึ่งปี 52 ดำเนินการเป็นเวลา 9 เดือน คำนวณดังนี้ 200,000 x 9/12 = 150,000 บาท) ค่าบำรุงรักษา 9 เดือน 150,000 บาท (ค่าบำรุงรักษาปีละ 200,00 บาท ปี 52 ดำเนินการเป็นเวลา 9 เดือน คำนวณดังนี้ 200,000 x 9/12 = 150,000 บาท
54
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กิจกรรม ระยะเวลา ตามแผน เป้าหมาย ระยะเวลาจริง ผลการดำเนินงาน เหตุผล 4. ลดกิจกรรมการเก็บคลังวัสดุ ม.ค.52-ก.ย.52 จัดให้มีระบบการจัดการวัสดุแบบ JIT มีต้นทุนในการวางระบบ 500,000 บาท และค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการระบบ 100,000 บาทต่อปี และค่าใช้จ่ายคลังวัสดุระบบเดิมก่อนปรับปรุง 600,000 บาท มี.ค.52-ก.ย.52 จัดให้มีระบบการจัดการวัสดุแบบ JIT มีต้นทุนในการวางระบบ 700,000 บาท และค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการระบบ 250,000 บาทต่อปี และค่าใช้จ่ายคลังวัสดุระบบเดิมก่อนปรับปรุง 1,000,000 บาท ดังนั้น ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บคลังวัสดุปีงบประมาณ พ.ศ.2552 เนื่องจากเป็นการจัดระบบใหม่จึงมีความล่าช้าในการดำเนินการ และอุปกรณ์ในการจัดทำระบบมีราคาสูงขึ้น จึงทำให้เกิดค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบเพิ่มขึ้น แต่หลังจากการนำระบบการจัดการวัสดุแบบ JIT มาใช้เกิดการบริหารงานด้านวัสดุอย่างมีประสิทธิภาพลดค่าใช้จ่ายจากเป้าหมายที่ตั้งไว้ 787,500 บาท
55
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กิจกรรม ระยะเวลา ตามแผน เป้าหมาย ระยะเวลาจริง ผลการดำเนินงาน เหตุผล ประกอบด้วย ค่าตัดจำหน่าย 87,500 บาท ค่าบำรุงรักษา 125,000 บาท ค่าใช้จ่ายคลังวัสดุระบบเดิมก่อนปรับปรุง 1,000,000 บาท รวมทั้งสิ้น 1,212,500 บาท หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายค่าติดตั้งระบบมีการตัดจำหน่าย 6 เดือน 87,500 บาท (ค่าติดตั้ง 700,000 บาท การตัดจำหน่าย 4 ปี ปีละ 175,000 บาท ซึ่งปี 52 ดำเนินการเป็นเวลา 6 เดือน คำนวณดังนี้ 175,000 x 6/12 = 87,500 บาท) ค่าบำรุงรักษา 6 เดือน 125,000 บาท (ค่าบำรุงรักษาปีละ 250,00 บาท ปี 52 ดำเนินการเป็นเวลา 6 เดือน คำนวณดังนี้ 250,000 x 6/12 = 125,000 บาท
56
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กิจกรรม ระยะเวลา ตามแผน เป้าหมาย ระยะเวลาจริง ผลการดำเนินงาน เหตุผล 5. มีการจ้างเอกชนในงานการดูแลบำรุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และโยกย้ายบุคลากรเดิมและทรัพยากรที่ทำงานอยู่ไปปฏิบัติงานด้านการออกแบบระบบงานสถิติ (งานใหม่) ต.ค.51-ก.ย.52 มีค่าใช้จ่ายในการดูแลบำรุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยบุคลากรภายนอก มีต้นทุน 2,000,000 บาทต่อปี และมีค่าใช้จ่ายในการออกแบบระบบงานสถิติ มีต้นทุน 5,000,000 บาทต่อปี มีค่าใช้จ่ายในการดูแลบำรุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยบุคลากรภายนอก มีต้นทุน 2,000,000 บาทต่อปี และมีค่าใช้จ่ายในการออกแบบระบบงานสถิติ มีต้นทุน 4,500,000 บาทต่อปี การจ้างเหมาในการดูแลบำรุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถดำเนินการได้ตามแผน ส่วนของต้นทุนของระบบงานสถิติหน่วยงานสามารถประหยัดได้ 500,000 บาท เนื่องจากบุคลากรของหน่วยงานมีการประหยัดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
57
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กิจกรรม ระยะเวลา ตามแผน เป้าหมาย ระยะเวลาจริง ผลการดำเนินงาน เหตุผล 6. ขายเครื่องจักรเก่าและซื้อเครื่องจักรใหม่แทนเครี่องจักรเก่าเพื่อเพิ่มกำลังการให้บริการการฉายรังสี ก.พ.52-ก.ย.52 ขายเครื่องจักรเก่า 2 เครื่อง ขาดทุน 20,000 บาท เครื่องจักรใหม่มีค่าเสื่อมราคา 70,000 บาทต่อปี มีอายุการใช้งาน 10 ปีไม่มีค่าซ่อมบำรุงใน 3 ปีแรก ปีที่ 4 –10 มีค่าซ่อมบำรุงประมาณปีละ 15,000 บาท มีกำลังการผลิต 1,000 ครั้งต่อวัน และมีประชาชนมาใช้บริการโดยเฉลี่ย 900 ครั้งต่อวัน ดังนั้นต้นทุนต่อหน่วยปีที่ 1 เท่ากับ 100 บาทต่อครั้ง หน่วยปีที่ 2-3 เท่ากับ บาทต่อครั้ง และ หน่วยปีที่ 4-10 เท่ากับ บาทต่อครั้ง ขายเครื่องจักรเก่า 2 เครื่อง ขาดทุน 20,000 บาท เครื่องจักรใหม่มีค่าเสื่อมราคา 70,000 บาทต่อปี มีอายุการใช้งาน 10 ปีไม่มีค่าซ่อมบำรุงใน 3 ปีแรก ปีที่ 4 –10 มีค่าซ่อมบำรุงประมาณปีละ 15,000 บาท มีกำลังการผลิต 1,000 ครั้งต่อวัน และมีประชาชนมาใช้บริการโดยเฉลี่ย 900 ครั้งต่อวัน ดังนั้นต้นทุนต่อหน่วยปีที่ 1 เท่ากับ 100 บาทต่อครั้ง หน่วยปีที่ 2-3 เท่ากับ บาทต่อครั้งและ หน่วยปีที่ 4-10 เท่ากับ บาทต่อครั้ง สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่ได้กำหนดไว้
58
Q & A 58 58
59
กลุ่มมาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐ E-mail address: pubacsap@cgd.go.th
โทร โทรสาร address: Website:
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.