ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAlícia Ferrão Branco ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
ครั้งที่ ๗/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๑๔ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร
2
วาระการประชุม ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ ๒ รับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ ๖/๒๕๕๕ ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเพื่อทราบ ๓.๑ สำเนาหนังสือสำนักงานประธานคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย ที่ สบอช(กบอ)/๒๐๐ เรื่อง รายงานผลการดำเนินการของคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๕ ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน ๔.๒ ร่างรายงานผลการวิเคราะห์สถานการณ์น้ำรายสัปดาห์ ณ วันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่น ๆ ๕.๑ นัดหมายการประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและ จัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๕ 2
3
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน ติดตามความก้าวหน้าตามข้อเสนอแนะของการประชุมครั้งที่แล้ว ๔.๑ กรมชลประทานตรวจสอบพื้นที่ที่มีน้ำท่วมขัง ในบริเวณพื้นที่ของลุ่มแม่น้ำยมว่า สภาพพื้นที่น้ำท่วมขังเป็นเพราะเหตุใด ส่งผลกระทบมากน้อยเพียงใด และในระยะยาวจะมีวิธีแก้ไขปัญหาอย่างไร ๔.๒ ปภ. ตรวจสอบบริเวณพื้นที่ที่มีน้ำท่วมขัง ในบริเวณพื้นที่ของลุ่มแม่น้ำยมว่าเป็นพื้นที่เขตชุมชนหรือไม่ ๔.๓ กรมทรัพยากรน้ำ รายงานตำแหน่งติดตั้งและระยะเวลาดำเนินการติดตั้งสถานีตรวจวัดปริมาณน้ำ side flow บริเวณท้ายเขื่อนกระเสียว 3 3
4
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๒ การวิเคราะห์สถานการณ์น้ำรายสัปดาห์ ๑. ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว ๒. การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า ๓. วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ 4 4
5
สถานการณ์น้ำเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
ข้อเสนอแนะจากคณะทำงาน 28 มิ.ย. 2555 ปัจจุบันมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยมีกำลังแรง ประกอบกับพายุโซนร้อน “ด็อกซูหริ” (DUKSURI) บริเวณทะเลจีนใต้ จะเคลื่อนตัวผ่านเกาะฮ่องกงและตอนใต้ของประเทศจีนในช่วงวันที่ 30 มิ.ย. – 1 ก.ค. ลักษณะเช่นนี้ทำให้ประเทศไทยจะมีฝนกระจายถึงเกือบทั่วไปและมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง โดยเฉพาะภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน และภาคตะวันออก ให้เฝ้าระวังอันตรายจากฝนตกหนัก การบริหารจัดการน้ำของเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ ระยะยาว ควรบริหารจัดการน้ำเขื่อนภูมิพลด้วยเกณฑ์น้ำปานกลาง และบริหารจัดการน้ำเขื่อนสิริกิติ์ด้วยเกณฑ์น้ำมาก เพื่อให้เขื่อนทั้ง 2 แห่ง สามารถรองรับปริมาณน้ำฝนในปี 2555 ได้ และมีปริมาณน้ำเพียงพอต่อการเกษตรในปี 2556 ระยะสั้น เสนอให้ระบายน้ำจากเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ รวมกันวันละ 36 ล้านลูกบาศก์เมตร จนถึงวันที่ 30 มิ.ย โดยเขื่อนภูมิพลระบายน้ำวันละ 8 ล้านลูกบาศก์เมตร และเขื่อนสิริกิติ์ระบายน้ำวันละ 28 ล้านลูกบาศก์เมตร และในเดือนกรกฎาคม เสนอให้ระบายน้ำรวมกัน 30 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยเขื่อนภูมิพลระบายน้ำวันละ 8 ล้านลูกบาศก์เมตร เขื่อนสิริกิติ์ระบายวันละ 22 ล้านลูกบาศก์เมตร
6
สถานการณ์น้ำเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
กรมชลประทานขอกำหนดแผนการระบายน้ำจากเขื่อนภูมิพล ระหว่างวันที่ 29 มิ.ย. - 1 ก.ค จากเดิมวันละ 8 ล้านลูกบาศก์เมตร เป็นวันละ 12 ล้านลูกบาศก์เมตร เนื่องจากในช่วงที่ผ่านมาปริมาณฝนในลุ่มเจ้าพระยาตอนบนมีน้อย ประกอบกับปริมาณความต้องการน้ำที่เพิ่มขึ้น ทำให้ปริมาณน้ำท่าในแม่น้ำปิงลดน้อยลงและไม่เพียงพอ ปริมาณน้ำไหลผ่านที่สถานี P17 มีเพียง 9 ลบ.ม/วินาที (29 มิ.ย. 2555) (ที่ กษ 0327/6571 ลงวันที่ 29 มิ.ย. 2555) กรมชลประทานขอปรับแผนการระบายน้ำเพิ่มเติม (ที่ กษ 0327/6631 ลงวันที่ 3 ก.ค. 2555) เขื่อนภูมิพล ระบายน้ำวันละ 12 ล้านลูกบาศก์เมตร ระหว่างวันที่ 2-8 กรกฎาคม 2555 เขื่อนสิริกิติ์ ระบายน้ำวันละ 28 ล้านลูกบาศก์เมตร ระหว่างวันที่ 2-4 กรกฎาคม จากนั้นจะปรับการระบายเป็นวันละ 24 ล้านลูกบาศก์เมตร ตั้งแต่วันที่ 5-8 กรกฎาคม 4. กรมชลประทานขอกำหนดแผนการระบายน้ำที่เขื่อนศรีนครินทร์และที่เขื่อนวชิราลงกรณ ระหว่างวันที่ 2- 8 กรกฎาคม 2555 โดยเขื่อนศรีนครินทร์จะระบายน้ำ (ผ่านเขื่อนท่าทุ่งนา) วันละ 7 ล้านลูกบาศก์เมตร และเขื่อนวชิราลงกรณจะระบายน้ำวันละ 7.7 ล้านลูกบาศก์เมตร เนื่องจากในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมามีฝนตกในพื้นที่ตอนบนของลุ่มน้ำแม่กลองเป็นปริมาณมาก ทำให้พื้นที่หลายแห่งมีปริมาณฝนเพียงพอต่อความต้องการ ทางกรมชลประทานจึงต้องการปรับลดการระบายเพื่อให้มีปริมาณน้ำจากพื้นที่ตอนบนให้อยู่ในอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม (ที่ กษ 0327/6572 ลงวันที่ 29 มิ.ย. 2555)
7
สถานการณ์พายุโซนร้อน “ด็อกซูหริ” (DOKSURI)
8
แผนภาพฝนสะสมรายวัน (30 มิ.ย.-3 ก.ค.55)
9
เรดาร์สกลนคร (1-4 ก.ค. 55) ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา 1 ก.ค. 55
2 ก.ค. 55 3 ก.ค. 55 4 ก.ค. 55 ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา
10
เรดาร์อุบลราชธานี (1-4 ก.ค. 55)
1 ก.ค. 55 2 ก.ค. 55 3 ก.ค. 55 4 ก.ค. 55 ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา
11
สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพล
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 46% (4 ก.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 7,301 ล้าน ลบ.ม. การระบายน้ำ 1 ก.ค ล้าน ลบ.ม. 2 ก.ค ล้าน ลบ.ม. 3 ก.ค ล้าน ลบ.ม. 4 ก.ค ล้าน ลบ.ม. แผนการระบาย 5-8 ก.ค. ระบาย 12 ล้าน ลบ.ม./วัน 12.16 ล้าน ลบ.ม./วัน (30 มิ.ย. – 4ก.ค.55) ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
12
สถานการณ์น้ำท่าที่สถานี P.17 บ้านท่างิ้ว อ.บรรพตพิสัย
125 ลบ.ม./วิ (29 มิ.ย.55) 9 ลบ.ม./วิ (29 มิ.ย.55) ปริมาณน้ำเพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค. 55
13
สถานการณ์น้ำเขื่อนสิริกิติ์
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 44% (4 ก.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 5,359 ล้าน ลบ.ม. การระบายน้ำ 1 ก.ค ล้าน ลบ.ม. 2 ก.ค ล้าน ลบ.ม. 3 ก.ค ล้าน ลบ.ม. 4 ก.ค ล้าน ลบ.ม. แผนการระบาย 5-8 ก.ค. ระบาย 24 ล้าน ลบ.ม./วัน 28.50 ล้าน ลบ.ม. (4 ก.ค55) ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
14
สถานการณ์น้ำเขื่อนวชิราลงกรณ
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน ตั้งแต่วันที่ 30 มิ.ย. เป็นต้นมา ปริมาณน้ำไหลเข้าลดลงค่อนข้างต่อเนื่อง 52% (4 ก.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 4,277 ล้าน ลบ.ม. การระบายน้ำ 1 ก.ค ล้าน ลบ.ม. 2 ก.ค ล้าน ลบ.ม. 3 ก.ค ล้าน ลบ.ม. 4 ก.ค ล้าน ลบ.ม. แผนการระบาย 2-8 ก.ค. ระบาย 7.70 ล้าน ลบ.ม./วัน 8 ล้าน ลบ.ม. (4 ก.ค55) ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
15
สถานการณ์น้ำเขื่อนศรีนครินทร์
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 71% (4 ก.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 5,182 ล้าน ลบ.ม. การระบายน้ำ 1 ก.ค ล้าน ลบ.ม. 2 ก.ค ล้าน ลบ.ม. 3 ก.ค ล้าน ลบ.ม. 4 ก.ค ล้าน ลบ.ม. 13.26 ล้าน ลบ.ม. (4 ก.ค55) ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
16
สถานการณ์น้ำเขื่อนท่าทุ่งนา
ปริมาณน้ำระบายรายวัน 7 ล้าน ลบ.ม. (4 ก.ค55) แผนการระบายน้ำอ่างเก็บน้ำเขื่อนศรีนครินทร์(ผ่านเขื่อนท่าทุ่งนา) ช่วงวันที่ 2-8 ก.ค. จะระบายวันละ 7 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
17
การคาดการณ์ในสัปดาห์หน้า
สรุปสถานการณ์น้ำและ การคาดการณ์ในสัปดาห์หน้า
18
สถานการณ์ฝนจากกรมอุตุนิยมวิทยา
ภาพถ่ายดาวเทียม GOES-9 แสดงกลุ่มเมฆ วันที่ 5 ก.ค. 55 เวลา 7.00 น. ภาพแผนที่อากาศกรมอุตุนิยมวิทยา วันที่ 29 มิ.ย. 55 เวลา น. ร่องมรสุมกำลังปานกลางพาดผ่านภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังปานกลางพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย ลักษณะเช่นนี้ทำให้ทั่วทุกภาคของประเทศมีฝนตกชุกหนาแน่น และมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง ให้เฝ้าระวังฝนหนักในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งตะวันตก 18
19
การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 3x3 กม
5 ก.ค. 55 6 ก.ค. 55 7 ก.ค. 55 รายละเอียดเพิ่มเติม 19
20
การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 9x9 กม
8 ก.ค. 55 9 ก.ค. 55 10 ก.ค. 55 11 ก.ค. 55 20 รายละเอียดเพิ่มเติม 20
21
SSTA 2 กรกฎาคม 2555 ONI= -0.3 IOD = -0.3 PDO = -1.7 ดัชนี PDO ต่ำกว่าปกติค่อนข้างมาก (แรงขึ้นจากเดือนก่อนหน้าจาก เป็น -1.7) ดัชนี ENSO เข้าสู่สภาพเป็นกลาง และมีแนวโน้มจะเปลี่ยนสภาพเป็น Elnino ช่วง กลางปีต่อเนื่องจนถึงปลายปี 2555 ดัชนี IOD เข้าสู่สภาพเป็นกลาง (เดือนก่อนหน้าเป็น +0.7) Source ONI: PDO: (Global ocean monitoring/NOAA) IOD: dataset SST DMI dataset (from 1982 to Present) derived from NOAA OI SST data V.2 (base period ) Ocean Nino Index (ONI) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA 3 เดือน (มีนาคม-พฤษภาคม) ในมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณ 5oN-5oS, 120o-170oW Pacific Decadal Oscillation (PDO) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA เดือนพฤษภาคมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก เหนือ 20oN Indian Ocean Dipole (IOD) เป็นผลต่าง SSTA ของเดือนพฤษภาคม บริเวณ 50-70oE, 10oS-10oN และ E, 10oS-0oN 21
22
แผนที่ฝนสะสมเดือนมิถุนายน 2555
OM T CM T เดือนมิถุนายน 55 ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากวงจรการหมุนเวียนของอากาศ 2 กลุ่ม ทั้งมหาสมุทรแปซิฟิก (OMT) และมหาสมุทรอินเดีย (CMT)
23
ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิก 2555
GUCHOL, TALIM DOKSURI SUNVU, MAWAR ดัชนีสูงกว่าปกติตั้งแต่ช่วงกลางเดือนมีนาคม และยังคงสูงกว่าปกติถึงปัจจุบัน ที่มา: University of Hawaii, Monsoon Monitoring Page
24
ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย 2555
ดัชนีสูงกว่าปกติตั้งแต่ช่วงกลางเดือนพฤษภาคม และยังคงสูงกว่าปกติถึงปัจจุบัน ที่มา: University of Hawaii, Monsoon Monitoring Page
25
น้ำไหลเข้าเขื่อนสะสม ปี 55 = 1,088 ล้าน ลบ.ม.
อยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างมาก (30%) มากกว่าค่าเฉลี่ย (894 ล้าน ลบ.ม.) ร้อยละ 22 น้อยกว่าปีที่แล้ว (2,488 ล้าน ลบ.ม.) ร้อยละ 56
26
คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนภูมิพล
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนภูมิพล (ระยะสั้น) กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนภูมิพล (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน 26
27
น้ำไหลเข้าเขื่อนสะสม ปี 55 = 1,374 ล้าน ลบ.ม.
อยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างมาก (25%) มากกว่าค่าเฉลี่ย (1,374ล้าน ลบ.ม.) ร้อยละ 23 น้อยกว่าปีที่แล้ว (2,458 ล้าน ลบ.ม.) ร้อยละ 44
28
คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนสิริกิติ์
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนสิริกิติ์ (ระยะสั้น) กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนสิริกิติ์ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน
29
คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนวชิราลงกรณ
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนวชิราลงกรณ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน
30
การวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์สมดุลน้ำ ประจำสัปดาห์
31
ผลการวิเคราะห์สมดุลน้ำ 5 กรกฎาคม 2555
BK 1-11 28 มิย-4 กค 2555 BK 1-11 คาดการณ์ 5-11 กค 2555
32
ผลการวิเคราะห์สมดุลน้ำ
สถานการณ์สมดุลน้ำเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาพบว่า ปริมาณฝนที่ตกจริงมีปริมาณน้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้ ทำให้ปริมาณน้ำในพื้นที่ Block 10 และ Block 11 ไม่เพียงพอต่อความต้องการ แต่เมื่อตรวจสอบกับทางกรมชลประทานพบว่า พื้นที่ Block 10 ตอนบนรับน้ำเข้าพื้นที่เท่ากับแผน ส่วนพื้นที่ทางตอนล่างรับน้ำเข้าพื้นที่น้อยกว่าแผนเล็กน้อย เนื่องจากมีฝนตกในพื้นที่ และในภาพรวมการรับน้ำสอดคล้องกับการเพาะปลูกที่เพิ่มมากขึ้น และไม่มีปัญหาการขาดแคลนน้ำ สำหรับพื้นที่ Block 11 พื้นที่ทางตอนบนมีการรับน้ำมากกว่าแผน เนื่องจากปริมาณฝนตกในพื้นที่น้อย และมีการเพาะปลูกเพิ่มขึ้น ส่วนพื้นที่ทางตอนล่าง มีการรับน้ำเข้าพื้นที่น้อยกว่าแผน เนื่องจากมีการรับน้ำจากแม่น้ำบางประกงและมีฝนตกในพื้นที่ ดังนั้นจึงไม่มีปัญหาการขาดแคลนน้ำ ในสัปดาห์หน้า จากการคาดการณ์ฝน พบว่าจะมีปริมาณฝนตกมากในพื้นที่ Block 1 และ Block 4 ส่วนในพื้นที่อื่นๆ มีปริมาณฝนตกอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ซึ่งทำให้สถานการณ์โดยรวมอยู่ในเกณฑ์ปกติ ไม่มีปัญหาการขาดแคลนน้ำ และในพื้นที่ที่ฝนตกมาก (Block 1 และ Block 4) จากการตรวจสอบสถานการณ์ในลำน้ำและการคาดการณ์ปริมาณน้ำท่าในพื้นที่ดังกล่าว พบว่าปริมาณน้ำที่เกินสมดุลจะไม่ส่งผลในเกิดปัญหาน้ำท่วมแต่อย่างใด 32 32
33
สรุปข้อเสนอแนะจากคณะทำงาน
1. ร่องมรสุมกำลังปานกลางพาดผ่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังปานกลางพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย ทำให้ช่วงวันที่ 6-8 ก.ย. 55 คาดว่าจะมีฝนตกหนักในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งตะวันตก 2. การบริหาร จัดการน้ำของเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ ระยะยาว ควรบริหารจัดการน้ำเขื่อนภูมิพลด้วยเกณฑ์น้ำปานกลาง และบริหารจัดการน้ำเขื่อนสิริกิติ์ด้วยเกณฑ์น้ำมาก เพื่อให้เขื่อนทั้ง 2 แห่ง สามารถรองรับปริมาณน้ำฝนในปี 2555 ได้ และมีปริมาณน้ำเพียงพอต่อการเกษตรในปี 2556 ระยะ สั้น เสนอให้ระบายน้ำจากเขื่อนภูมิพลเป็นวันละ 12 ล้านลูกบาศก์เมตร จนถึงวันที่ 15 ก.ค. 55 ส่วนเขื่อนสิริกิติ์เสนอให้ระบายวันละ 24 ล้านลูกบาศก์ จนถึงวันที่ 15 ก.ค. 55 หลังจากนั้นให้ระบายน้ำจากเขื่อนสิริกิติ์ชดเชย 33 33
34
ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องเพื่อพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องเพื่อพิจารณา ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี) ๕.๑ นัดหมายการประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๕ สรุปข้อเสนอแนะจากที่ประชุมคณะอนุกรรมการเสนอต่อ กบอ. วันศุกร์ที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ประชุมคณะอนุกรรมการครั้งต่อไป วันศุกร์ที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. สถานที่ 34 34
35
จบการรายงาน
37
การวิเคราะห์สมดุลน้ำในแต่ละพื้นที่
วิเคราะห์สถานการณ์น้ำความเสี่ยงน้ำท่วมด้วยแบบจำลองน้ำท่วม วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ปริมาณน้ำขาดดุลด้วยแบบจำลองการบริหารจัดการน้ำ
38
แบบจำลอง Mike Basin เพื่อวิเคราะห์สมดุลน้ำในพื้นที่ชลประทาน
การจำลองสภาพลุ่มน้ำ ผ่านการสร้าง Schematic diagram ข้อมุลนำเข้า เช่น ข้อมูลฝน เขื่อน การใช้น้ำต่างๆ Scenarios analysis & optimization ของเขื่อน เพื่อประโยชน์สูงสุดในการจัดสรรน้ำ ใช้แบบจำลองในการคาดการณ์สถานการณ์น้ำแล้ง-น้ำท่วม เพื่อนำไปสู่การตรวจสอบใน Mike Flood ต่อไป
39
แบบจำลอง Mike Basin เพื่อวิเคราะห์สมดุลน้ำในพื้นที่ชลประทาน
สมดุลน้ำนอกเขตพื้นที่ชลประทานจะวิเคราะห์โดยใช้แบบจำลอง SWAT โดยคำนึงถึงปริมาณฝน สภาพดิน และความต้องการใช้น้ำของพืชตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน
40
การวิเคราะห์สมดุลน้ำรายเดือนด้วยแบบจำลอง SWAT
ปริมาณฝนเฉลี่ยรายเดือน พ.ค. มิ.ย. Block3 322.59 101.11 Block4 281.84 84.60
41
BK 3 พ.ค. 2555 BK 4 พ.ค. 2555 BK 3 มิ.ย. 2555 BK 4 มิ.ย. 2555
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.