ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ
2
ความหมาย ทฤษฎีองค์การ เป็นการศึกษาในระดับมหภาคเกี่ยวกับองค์การ โดย มีระดับการวิเคราะห์อยู่ในระดับองค์การ โดยมีลักษณะที่สำคัญ ดังนี้ ศึกษาถึงพฤติกรรมองค์การในภาพรวม ศึกษาความสัมพันธ์ขององค์การกับสิ่งแวดล้อมภายนอก และทฤษฎี โครงสร้างตามสถานการณ์ ศึกษาความสัมพันธ์ขององค์การหนึ่งกับองค์การหนึ่ง อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
3
ประโยชน์ในการศึกษาทฤษฎีองค์การ
ทำให้เข้าใจความเป็นไปขององค์การ ความสัมพันธ์ต่าง ๆ เข้าใจถึงพฤติกรรมของมนุษย์ในองค์การ ช่วยให้สามารถ วิเคราะห์ปัญหา แก้ไขปัญหาในองค์การได้ อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
4
แผนภูมิแสดงประโยชน์ในการศึกษาทฤษฎีองค์การ
เข้าใจปรากฏการณ์ ออกแบบโครงสร้างองค์การ ประยุกต์เทคนิคการจัดการ ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ สมาชิกมีสุขภาพดี เข้าใจพฤติกรรมมนุษย์ การเปลี่ยนแปลง ตอบสนองความต้องการสังคม อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
5
ประเภทของทฤษฎีองค์การ
กลุ่มนักปฏิบัตินิยม กลุ่มนักวิชาการนิยม อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
6
แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีองค์การ
แนวคิดที่ใช้หลักวิทยาศาสตร์ เน้นกฎระเบียบ ควบคุม ลักษณะเป็นองค์การเครื่องจักร เป็นทฤษฎี องค์การแบบปิด หรือแบบ คลาสสิค แนวคิดในเชิงพฤติกรรมศาสตร์ เน้นความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร สนใจในความรู้สึก อารมณ์ ความ นึกคิด ความต้องการ เป็นองค์การแบบสิ่งมีชีวิต แนวคิดที่เน้นเรื่องระบบ เน้นภาพรวม มองความสัมพันธ์องค์การกับสิ่งแวดล้อม คำนึงถึงความ ซับซ้อนขององค์กร อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
7
ทฤษฎีองค์การหลัก ตามวิธีการสมัยดั้งเดิม หรือ แบบคลาสสิค
ตามวิธีการพฤติกรรมศาสตร์ ตามวิธีการสมัยใหม่ หลังยุคสมัยใหม่ อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
8
ทฤษฎีองค์การสมัยดั้งเดิม
การจัดการยุคแรกสุดเกิดสมัยอียิปต์ กรี โรมัน วางแนวทางการทำงานไว้ 5 อย่างคือ ความเป็นสัดส่วน ความรับผิดชอบ - การตรวจสอบ - การแนะนำของบุคลากรที่ทำงานร่วมกัน การใช้อำนาจหน้าที่ การจัดการช่วง ศตวรรษที่ 19 เป็นทฤษฎีประเพณีนิยม หลักแบ่งงานกันทำ (อดัม สมิธ) - เน้นความชำนาญเฉพาะด้าน ให้ความสำคัญกับกฎเกณฑ์ ไม่ยึดหยุ่น - เน้นประสิทธิภาพ และประสิทธิผล อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
9
Federick Winslow Taylor
“ บิดาแห่งการจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์” เสนอหลักการที่สำคัญคือ 1. ต้องใช้วิธีการทำงานที่ดีที่สุด “One Best Way” 2. ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการจัดการงานบุคคล ( Training and Development) 3. ให้พนักงานทำตามขั้นตอน/วิธีที่กำหนดไว้ 4. แบ่งความรับผิดชอบในงานอย่างชัดเจน(ผู้จัดการ กับ ลูกน้อง) เน้นคนเหมือนเครื่องจักรโดยศึกษาเวลาและการเคลื่อนไหวในการทำงาน อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
10
แนวคิดทฤษฎีองค์การสมัยดั้งเดิม
อองรี ฟาโยล (Fayol) –บิดาแห่งการบริหารจัดการยุคใหม่ เกิดหลักการทำงาน 5 ประการ คือ “OSCAR” วัตถุประสงค์ (O) ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (S) การประสานงาน (C) อำนาจหน้าที่ (A) ความรับผิดชอบ (R) อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
11
Henri Fayol เสนอหลักการจัดการ 14 ข้อ
1. การแบ่งงานกันทำ (Division of work) 2. อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ (Authority and Responsibility) งานที่ได้รับมอบหมายคือ ความรับผิดชอบต่องานนั้น 3. การมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว (Unity of Command) 4. การมีเป้าหมายอย่างเดียวกัน (Unity of Direction) 5. การจัดลำดับสายงาน (Scalar Chain) สายการบังคับบัญชาจากสูงลงต่ำ 6. ระเบียบวินัยในองค์การ (Disciplines) ข้อบังคับ แนวทางในการปฏิบัติตัว และ ปฏิบัติงาน อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
12
Henri Fayol เสนอหลักการจัดการ 14 ข้อ 7
Henri Fayol เสนอหลักการจัดการ 14 ข้อ 7. การถือประโยชน์ส่วนมากมากกว่าบุคคล (Subordination of Individual interest to general interest) 8. การรวมอำนาจ (Centralization) ที่ผู้จัดการระดับสูง 9. ความเป็นระเบียบ (Order) ขอบเขตการปฏิบัติงานที่ชัดเจน 10. การจ่ายผลประโยชน์ตอบแทน (Remuneration) อย่างเป็นธรรม 11. ความเป็นธรรม (Equity) ยุติธรรมไม่เลือกปฏิบัติ 12. ความต่อเนื่องของแรงงาน (Stability of Tenure of Personnel) ต้องระวังการเข้าออก ของพนักงาน 13. ความคิดริเริ่ม (Initiative) โดยเปิดโอกาสให้พนักงานแสดงความคิดเห็น 14. ความสามัคคี (Esprit De Corp) ทำงานเป็นทีม อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
13
1. แผนภูมิแกนท์ (Gantt Chart) ตารางเปรียบเทียบเวลากับกิจกรรมที่ทำ
Henry Gantt 1. แผนภูมิแกนท์ (Gantt Chart) ตารางเปรียบเทียบเวลากับกิจกรรมที่ทำ ระบบที่ดีที่สุดขึ้นอยู่กับการจัดตารางเวลา 2. ระบบการจ่ายโบนัส (Incentive System) อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
14
Max Weber ทฤษฏีการจัดการองค์การที่เป็นทางการ (Bureaucracy) 1. การแบ่งงานกันทำ 2. การจัดลำดับชั้นในการบังคับบัญชา 3. การปฏิบัติงานภายใต้กฎระเบียบขององค์กร 4. การตัดสินใจโดยผู้จัดการระดับสูง 5. ใช้ระบบคุณธรรมในการเลือกพนักงาน อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
15
แนวคิดทฤษฎีองค์การตามวิธีพฤติกรรมศาสตร์
กลุ่มมนุษย์สัมพันธ์ มองว่ามนุษย์เป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่ก่อให้เกิด ประสิทธิภาพ กลุ่มกลุ่มพฤติกรรมองค์การสมัยปัจจุบัน เน้นเข้าใจในตัวบุคคล (organic) ไม่ให้ความสนใจองค์กรเลย (man without organization) อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
16
Elton Mayo Mayo ได้ทำการศึกษาที่ Hawthorne ได้เสนอแนวคิดคือ 1. คนงานเป็นสิ่งที่มีชีวิต จิตใจ ขวัญกำลังใจจึงเป็นเรื่องสำคัญ 2. การทำงานขึ้นกับสภาพทางกายภาพและความสัมพันธ์ทางสังคม 3. รางวัลทางจิตใจกระตุ้นการทำงานได้ดีกว่ารางวัลทางเศรษฐทรัพย์ 4. การแบ่งงานกันทำอาจไม่ช่วยให้ประสิทธิภาพการทำงานดีขึ้นเสมอไป อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
17
Abraham Maslow 1. มนุษย์มีความต้องการเรื่อย ๆ ไปและไม่สิ้นสุด 2. ความต้องการที่ได้รับการตอบสนองแล้วจะไม่มีอิทธิพลต่อการจูงใจอีก 3. ความต้องการของคนมีลำดับขั้น ดังนี้ - ความต้องการทางกายภาพ (Physiological Needs) เช่น อากาศ, อาหาร, น้ำ, เครื่องนุ่งห่ม,นอนหลับ,ที่พักอาศัย - ความต้องการความปลอดภัย (Safety Need) เช่น ความรู้สึกมั่นคง ปลอดภัยจากสิ่งๆต่างๆ , ความเจ็บปวด - ความต้องการทางสังคม (Social Need) - ความต้องการได้รับการยกย่อง (Esteem Need) - ความต้องการประสบความสำเร็จ (Self-Actualization) อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
18
Douglas McGregor ทฤษฎี X คือการมองพนักงานในเชิงลบ เช่น
คนเกียจคร้านไม่ชอบทำงาน มีความทะเยอทะยานต่ำ ชอบให้บังคับ สั่งให้ทำงาน ใช้ปัจจัยพื้นฐาน เช่น เงิน เป็นเครื่องมือจูงใจ ทฤษฎี Y คือการมองพนักงานในแง่ดี เช่น มีความรับผิดชอบ คิดอย่างสร้างสรรค์ ควบคุมตนเองได้ กระตือรือร้น ใช้ความสำเร็จ ความท้าทาย ในการจูงใจ อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
19
แนวคิดทฤษฎีองค์กรสมัยใหม่
แนวคิดเน้นโครงสร้างองค์การเชิงระบบ แนวคิดเน้นโครงสร้างองค์การตามสถานการณ์ อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
20
องค์การเสมือนจริง 1. องค์การเสมือนจริง 2. องค์การแห่งการเรียนรู้ 3. องค์การคุณภาพ อาจารย์กนกวรรณ แก้วประเสริฐ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.