ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เงื่อนไขความเข้าใจความหมาย
2
เงื่อนไขต่างๆ ที่ช่วยให้เข้าใจความหมาย
การรับรู้ความหมายจากการอ่านย่อมขึ้นอยู่กับเงื่อนไขหลายอย่าง ดังนั้นเรื่องความเข้าใจความหมายที่บันทึกเอาไว้โดยใช้อักษรเป็นสื่อกลางจึงเป็นปัจจัยสำคัญ
3
เงื่อนไขของการรับรู้และแปลสัญลักษณ์ได้ตรงกัน
ลักษณะการแปลความ ประกอบด้วย การแปลความหมาย การแปลสัญลักษณ์ การแปลถอดความ
4
การแปลความหมาย การแปลความหมาย ได้แก่ การแปลคำหรือความจากระดับหนึ่งให้สูงขึ้นหรือต่ำลงไปสู่อีกระดับหนึ่ง เช่น แปลศัพท์เฉพาะ ไปเป็น ภาษาสามัญ หรือแปลข้อความยาวๆ ให้เป็นศัพท์เฉพาะ
5
การแปลสัญลักษณ์ การแปลสัญลักษณ์ ได้แก่ การแปลความหมายจากรูปภาพอากัปกิริยาท่าทาง ภาพการ์ตูน ว่าสิ่งนั้นหมายถึงอะไร เช่น ให้แปลความหมายของข้อความไปเป็นแผนภูมิ แผนผัง หรือรูปภาพ
6
การแปลถอดความ การแปลถอดความ ได้แก่ การแปลความหมายของคติพจน์ สำนวน พังเพย สุภาษิต ให้เป็นภาษาสามัญ หรือแปลความหมายในบทกวีเป็นภาษาร้อยแก้ว หรือ ให้แปลจากภาษาหนึ่งไปสู่ภาษาหนึ่ง เช่น การแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ
7
อุปสรรคในการแปลความ ปัญหาสำคัญที่เป็นอุปสรรคในการแปลความนั้น ได้แก่ การเข้าใจสัญลักษณ์ที่ใช้นั้นได้ตรงกันเสียก่อน ถ้าผู้อ่านไม่เข้าใจสัญลักษณ์ที่ผู้เขียนใช้ หรือผู้ฟังไม่เข้าใจสัญลักษณ์ที่ผู้พูดพูด ย่อมเป็นอุปสรรคในการสื่อความหมาย
8
เงื่อนไขแห่งมโนทัศน์ของผู้ส่งสารกับผู้รับสาร
11
จากเรื่องนี้จะเห็นได้ว่ามีบทสนทนาที่ต้องแปลความควบคู่ไปกับการตีความ
มโหสถและนางอมรจะต้องเข้าใจชั้นเชิงของภาษา (เข้าใจสัญลักษณ์) และปริศนาที่แฝงอยู่ในภาษา (เข้าใจความหมายที่อยู่นอกเหนือตัวอักษร) การที่มโหสถและนางอมรเข้าใจตรงกัน เพราะมี มโนทัศน์เกี่ยวกับปริศนาเหล่านี้ตรงกัน
12
เจตนา นาควัชระ กล่าวว่า “อันที่จริงเป็นหน้าที่ของผู้อ่านจะต้องตีความหมายของวรรณกรรมที่ตนอ่าน ผู้อ่านแต่ละคนอาจไม่จำเป็นต้องตีความหมายวรรณกรรมเรื่องเดียวกันหรือบทเดียวกันไปในแนวทางเดียวกัน”
13
ดังภาษิตบทหนึ่งกล่าวว่า
Two men look through the same bar; One see mud, the other sees star. “สองคนยลตามช่อง คนหนึ่งมองเห็นเปือกตม อีกคนตาแหลมคม มองเห็นดาวอยู่พราวพราย”
14
เงื่อนไขของภูมิหลังเหตุการณ์
เงื่อนไขภูมิหลังของเหตุการณ์เป็นผลสืบเนื่องมาจาก “เงื่อนไขของมโนทัศน์” กล่าวคือ ปกติผู้อ่านใช้มโนทัศน์ของตนแปลความหมายจากสิ่งที่ได้อ่าน แต่บางครั้งขาดความรู้หรือประสบการณ์เกี่ยวกับสิ่งที่อ่าน จึงทำให้เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนได้
15
เงื่อนไขเกี่ยวกับรูปแบบและกลวิธี
เนื้อหา สารคดี Non – fiction Feature เน้นข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็นแปลกใหม่ บันเทิงคดี Fiction เรื่องสมมุติ / สมจริง
16
รูปแบบ เนื้อหา ก. นิยาย แนวเรื่อง แก่นเรื่อง เนื้อเรื่อง ลักษณะนิสัยตัวละคร อารมณ์ของผู้แต่ง
17
รูปแบบ เนื้อหา ข. บทละคร แนวเรื่อง แก่นเรื่อง เนื้อเรื่อง ลักษณะนิสัยตัวละคร อารมณ์ของผู้แต่ง บทเจรจา
18
รูปแบบ เนื้อหา ค. บทกวีต่างชนิด แนวเรื่อง แนวคิดของผู้แต่ง อารมณ์ของผู้แต่ง ง. บทเพลง แนวความคิด ปรัชญาของผู้แต่ง
19
https://www. youtube. com/watch
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.