งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560-2561 นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560-2561 นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพเชิงบูรณาการ ระหว่างวันที่ ธันวาคม 2559 ณ โรงแรมเวียงอินทร์ ริเวอร์ไซด์ จังหวัดเชียงราย

2 จากยุทธศาสตร์กระทรวง...สู่(ร่าง)กรอบยุทธศาสตร์ ระยะ 20 ปี
กรมควบคุมโรค

3 (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค วิสัยทัศน์: ประชาชนได้รับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระดับมาตรฐานสากล ภายในปี 2579 Integrity Service mind Mastery/ Expertise Achievement motivation Relationship Teamwork เป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดี (ปลอดโรค ปลอดภัย) ระบบควบคุมโรคเข้มแข็ง ประชาชนสุขภาพดี ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย เจ้าหน้าที่มีความสุข องค์กรคุณธรรม ความสุขของคนทำงาน ระบบสุขภาพเข้มแข็ง เครือข่าย พัฒนาบุคลากร ระบบโครงสร้างพื้นฐาน Infrastructure Policy and Interventions Manage, Facilitate and Co-ordinate PH Emergency Management Workforce ระยะที่ 1 : ปฏิรูประบบ (พ.ศ ) ระยะที่ 2 : สร้างความเข้มแข็ง (พ.ศ ) ระยะที่ 3 : สู่ความยั่งยืน (พ.ศ ) ระยะที่ 4 : เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย (พ.ศ )

4 แนวทางขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค กำหนดชุดเป้าหมายระยะยาว
จัดทำกรอบยุทธศาสตร์ (Strategic Framework) ๒๐ ปี และทบทวนกรอบยุทธศาสตร์ทุก ๕ ปี และตามความจำเป็น จัดตั้งกลไกการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในระบบป้องกันควบคุมโรคให้เหมาะสมกับกรอบยุทธศาสตร์ฯ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ระยะ ๕ ปี โดยอาศัย “กรอบยุทธศาสตร์ ๒๐ ปี” เป็นแนวทางในการจัดทำแผนฯ ระยะที่ 1: ปฏิรูประบบ (พ.ศ ) ระยะที่ 2: สร้างความเข้มแข็ง (พ.ศ ) ระยะที่ 3: สู่ความยั่งยืน (พ.ศ ) ระยะที่ 4: ประชาชนสุขภาพดี (พ.ศ )

5 กรอบตัวชี้วัดและเป้าหมายของการป้องกันควบคุมโรค ระยะ ๒๐ ปี
Prevention Excellence Service Excellence ลดจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ไม่เกิน1,000 ราย (ภายในปี 2573) 10. ความชุกของ Primary MDR-TB ลดลงร้อยละ 50 11. ความชุกของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลลดลงร้อยละ 20 2. อัตราป่วยวัณโรคลดลงร้อยละ 90 3. อัตราป่วยโรคมาลาเรียไม่เกิน elimination target 12. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงร้อยละ 50 สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ 4. อัตราป่วยและการดำเนินงานของโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนเป็นไปตามพันธสัญญานานาชาติ 13. ผู้ป่วยโรคเบาหวานร้อยละ 50 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ 5. อัตราตายโรคหลอดเลือดหัวใจลดลงร้อยละ 25 6. ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปี ลดลงร้อยละ 50 People Excellence 14. อัตราส่วนนักระบาดวิทยาต่อประชากร ไม่น้อยกว่า 1 คนต่อประชากร 200,000 คน 7. ประมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ต่อประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ลดลงร้อยละ 40 Governance Excellence 8. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี ลดลงร้อยละ 80 15. ทุกของหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรคผ่านเกณฑ์การประเมินด้านธรรมาภิบาล 9. อัตราป่วยโรคพิษโลหะหนักในประชากรอายุ 0-14 ปีในพื้นที่เสี่ยงสูง ไม่เกิน ไม่เกิน 0.1 ต่อประชากรหนึ่งแสนคน 16.ไม่พบผู้ป่วยโรคติดต่ออันตรายที่เกิดขึ้นใน Generation ที่ 2

6 เป้าหมายการดำเนินงาน 5 ปี

7 โรคไม่ติดต่อ และควบคุมปัจจัยเสี่ยง
เป้าหมาย 5 ปี (2564) : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย) โรคไม่ติดต่อ และควบคุมปัจจัยเสี่ยง โรค มาตรการ เป้าหมาย ปี 2564 1. CVD Risk ประเมิน CVD risk ผู้ป่วย DM HT Baseline: ปี 59 = ร้อยละ 77.89 -ร้อยละของผู้ป่วยDM HTที่ขึ้น ทะเบียนได้รับการประเมินโอกาส เสี่ยงต่อCVD ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 2. HT/DM ควบคุมผู้ป่วย HT และ/หรือ DM รายใหม่ Baseline: ปี 59 HT=714 ราย ,DM=344 ราย (ต่อแสน) -อัตราผู้ป่วย HT และ/หรือ DM รายใหม่ลดลง HT=516 ราย ,DM=250 ราย (ต่อแสน) 3. ALC ควบคุมการบริโภคแอลกอฮอล์ประชากร ไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป Baseline: ปริมาณการบริโภค ปี 58= 6.95 L/คน/ปี -ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ต่อประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ไม่เกิน 6.54 ลิตรแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี 4. ยาสูบ ลดการบริโภคยาสูบประชากรไทยอายุ 15ปีขึ้นไป Baseline: ความชุกปี 58= ร้อยละ19.9 -ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไป ไม่เกินร้อยละ 16 5. จมน้ำ ป้องกันควบคุมการจมน้ำของเด็กร่วมกับพื้นที่ ภาคีเครือข่าย “merit maker” Baseline: ปี 57/58 = 6.8/5.9 ต่อแสนเด็ก -อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก อายุน้อยกว่า 15 ปี ≤ 3.0 ต่อแสน 6. โรคจากการ ประกอบอาชีพ สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (Healthy workplace) baseline ปี 59 = 8.9 ต่อ 1000 คลินิกสุขภาพเกษตรกรครบวงจร baseline ปี 59 = 17.6 ต่อแสน ปชก - อัตราการประสบอันตรายจากการทำงาน ไม่เกิน 5.25 ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย - อัตราป่วยด้วยโรคพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ไม่เกิน 12.5 ต่อแสนปชก 7. โรคจาก สิ่งแวดล้อม พัฒนาระบบบริการ อาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในหน่วยบริการพื้นที่เสี่ยงสูง (Clinic Env – Occ) Base line ปี 58 = 0.29 /แสน ปชก -อัตราป่วยโรคพิษโลหะหนักในกลุ่มเด็กอายุ 0-14 ปี ไม่เกิน 0.17 ต่อแสน ปชก 7

8 เป้าหมาย 5 ปี (2564) : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย)
เป้าหมาย 5 ปี (2564) : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย) โรคติดต่อสำคัญ โรค มาตรการ เป้าหมาย ปี 2564 1. มาลาเรีย กำจัดกวาดล้างทุกอำเภอของประเทศไทยปลอดจากโรคมาลาเรีย (เฝ้าระวัง รักษา/ ควบคุมยุงพาหะ /ป้องกันตนเอง) Baseline : ปี 58 = 708 อำเภอ/เขต ปี 67 ทุกอำเภอของประเทศไทยปลอดจากโรคมาลาเรีย : ปี 64 = 882 อำเภอ/เขต) 2. ไข้เลือดออก กำจัดพาหะนำโรค- ลดการแพร่กระจายของโรค - ประสิทธิระบบการรักษา Baseline: ปี 58 /59 อัตราป่วย= /24.32 ต่อแสน -ลดอัตราการป่วย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 (ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี) 3. วัณโรค ค้นหาผู้ป่วยโดยเร็ว รักษาหายและครบ Baseline: อุบัติการณ์วัณโรค ปี 57= ร้อยละ 171 / แสนปชก. - จำนวนอุบัติการณ์วัณโรค ไม่เกิน 88 /แสน ปชก. 4. โรคพยาธิใบไม้ในตับ OV คัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) ค้นหาผู้ป่วยและรักษา - พัฒนาต้นแบบชุมชน/รร. Baseline: ปี 59 = 84 ตำบล ร้อยละของตำบลจัดการสุขภาพในการ เฝ้าระวังป้องกันแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ในตับและมะเร็งท่อน้ำดี : ร้อยละ 80 (ตำบลเป้าหมาย 190 ) 5. เอดส์ การทำงานเชิงรุกเพื่อเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายให้ได้บริการป้องกันโรคและส่งต่อเพื่อคัดกรองและรักษาโรคตามมาตรการ RRTTR (Reach-Recruit-Test-Treat-Retain) Baseline ปี57 MSM = 9.2%, ปี58 ANC (15-24ปี) = 0.42% - ความชุกของ HIV ใน MSM ไม่เกินร้อยละ 6.8 -ความชุกของ HIV หญิงฝากครรภ์อายุ ปี ไม่เกิน ร้อยละ 0.3 6.โรคพิษสุนัขบ้า ผู้สัมผัสโรคได้รับการฉีดวัคซีนตามแนวทางฯ Baseline: พบผู้เสียชีวิตปี 58, ปี59 = 5 ราย , 11 ราย ไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า 7. โรคเรื้อน เร่งรัดค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ Baseline: ปี 57/58 = 208/187 ราย ผป. โรคเรื้อนรายใหม่ : ไม่เกิน 100 ราย 8. โปลิโอ รักษาสถานะปลอดโปลิโอ (ปลอดโปลิโอ ตั้งแต่ปี 40) 8

9 ภาครัฐ เอกชน (ภาคธุรกิจ, NGO)
ความเชื่อมโยง ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคฯ กับแผนยุทธศาสตร์โรค เพื่อขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมาย ภายใน 5 ปี เป้าหมาย : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย) แผนยุทธศาสตร์ โรคจากการประกอบอาชีพ & สิ่งแวดล้อม แผนยุทธศาสตร์ โรคติดต่อ แผนยุทธศาสตร์ โรคติดต่อ อุบัติใหม่ แผนยุทธศาสตร์ เอดส์ วัณโรค โรคเรื้อน ตับอักเสบ แผนยุทธศาสตร์ โรคไม่ติดต่อ แผนยุทธศาสตร์ การบาดเจ็บ แผนยุทธศาสตร์ ปัจจัยเสี่ยง (Alc. ยาสูบ) การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน- ระบบป้องกันควบคุมโรคที่เข้มแข็ง-เป็นเอกภาพ ภาครัฐ (MOPH, non- MOPH) เอกชน (ภาคธุรกิจ, NGO) ที่แสดงไว้ใน Slide นี้ เป็นคณะกรรมการที่ดูนโยบาย (Policy) น่าจะเพิ่มเติมด้วยว่า มีคณะกรรมการตามกฎหมาย คือ คณะกรรมการวัตถุอันตราย ที่ใช้ พรบ.วัตถุอันตราย 2535 และฉบับปรับปรุง -คณะอนุกรรมการที่เกี่ยวข้อง อาจตัดแถวสีฟ้า คณะอนุกรรมการ 3 คณะออกไป จะทำให้ที่ว่างมากขึ้น พัฒนาภารกิจ โครงสร้าง บริหาร จัดการระบบ พัฒนาระบบข้อมูลเพื่อการ เฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค พัฒนามาตรการ ที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาความเข้มแข็งแผนงานควบคุมโรค พัฒนาระบบกลไกตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน พัฒนากำลังคนรองรับระบบป้องกันควบคุมโรคภัยสุขภาพ พัฒนาระบบห้อง ปฏิบัติการทางสาธารณสุข ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรค & ภัยสุขภาพแห่งชาติ ๕ ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๔

10 ทิศทาง และเป้าหมายการดำเนินงาน 2560

11 นโยบายท่านอธิบดีกรมควบคุมโรค ปี 2560
ให้ความสำคัญสูงสุดต่อโครงการตามพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ : หนอนพยาธิ, พยาธิใบไม้ตับ เร่งรัดดำเนินการให้ได้ตามเป้าหมายยุทธศาสตร์บูรณาการชาติ กระทรวง และ กรม : กลุ่มวัย พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ดิจิทัล ขยะ & สิ่งแวดล้อม วิจัย ปราบปรามทุจริต บังคับใช้กฎหมาย ATM, EOC, SAT ดำเนินการเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง/พื้นที่เสี่ยง ตามจุดเน้นแผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยง โรคจากอาชีพและสิ่งแวดล้อม โรคติดต่อ และการพัฒนาเชิงระบบ ดำเนินการตามกรอบ 36 แผนปฏิบัติราชการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค ให้ได้ตามเป้าหมาย พัฒนาศูนย์ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดทุกจังหวัด เร่งรัดพัฒนารูปแบบการควบคุมโรคในเขตเมืองให้สามารถขยายผลทันสถานการณ์ปัญหาเมืองใหญ่ บูรณการอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งกับระบบสุขภาพอำเภอในการลดโรคที่เป็นปัญหาสำคัญเชิงคุณภาพ ขับเคลื่อนพ.ร.บ.โรคติดต่อ 2558 ให้การดำเนินงานเป็นรูปธรรม มีประสิทธิภาพระดับจังหวัด & อำเภอ บริหารความเสี่ยงให้ Small Success 3, 6, 9, 12 เดือน บรรลุตามเป้าหมายตัวชี้วัดคำรับรอง การปฏิบัติราชการของกรมฯ และหน่วยงาน เร่งรัดติดตามผลงานและการเบิกจ่ายงบประมาณให้ได้ตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายปี และมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพของรัฐบาล

12 วิสัยทัศน์กรมควบคุมโรค
เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายในปี 2563 ยุทธ ศาสตร์ ค่านิยมองค์การ I SMART พัฒนา ร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในและนานาชาติ พัฒนานวัตกรรม มาตรการ มาตรฐานและวิชาการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ สื่อสารสาธารณะ ประชาสัมพันธ์ ทั่วถึง ได้ผล เตรียมพร้อม ตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน ภัยพิบัติอย่างรวดเร็ว บริหารจัดการองค์กรแนวใหม่ พัฒนาบทบาทการนำด้านนโยบายและยุทธศาสตร์การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่เป็นหลักของประเทศ Integrity Service mind Mastery/ Expertise Achievement motivation Relationship Teamwork

13 ระบบการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
Infrastructure Non-communicable disease DC SYSTEM DC System for National Security Excellence Center Surveillance EOC Agriculture/ Industry Occupational Health Special Setting/Pop Point of entry /Border Health /Migrant Acute/Chronic Infectious diseases Environmental Medicine Regional Disease Control ( Public Health lab) Vaccine Security Equipment/Laboratory HRP/HRD Information Technology International Training Center International Research Center แผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ 1 ) เป้าประสงค์หลัก คือ ระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศที่มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน 2) ประกอบด้วย 1) แผนงานพัฒนาระบบควบคุมโรคเพื่อความมั่นคงของประเทศ (Disease Control System for National Security) 2) แผนงานพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (Excellence Center for Disease Control) 3) แผนงานสนับสนุนการพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ได้แก่ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การอบรมระหว่างประเทศ (International Training Center) และศูนย์การวิจัยระหว่างประเทศ (International Research Center) 3) ขั้นตอนการจัดทำแผนยกระดับประสิทธิภาพและพัฒนาสู่ความยั่งยืนด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ – 2562 ได้แก่ 1) กำหนดภาพอนาคตที่พึงประสงค์ วิเคราะห์สถานการณ์ และหาส่วนขาด 2) ระบุความต้องการ/ความจำเป็นที่จะลงทุน 3) กำหนดเป็นแผนปฏิบัติการเพื่อการลงทุน โดยจำแนกรายการการลงทุนเป็นรายปี หมายเหตุ: EOC หมายถึง Emergency Operation Center หรือศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

14 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560-2561 นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google