ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดย露 张 ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 22 มิถุนายน ข้อมูล ณ เวลา น. และ 1
2
สถานการณ์ปัจจุบัน พายุโซนร้อน“คูจิระ”(KUJIRA) บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน มีแนวโน้มเคลื่อนตัวไปทางเหนือ เข้าสู่เกาะไหหลำ และทางตอนใต้ของประเทศจีน กลุ่มเมฆฝน มีกลุ่มเมฆปกคลุมบริเวณด้านตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และด้านตะวันตกของประเทศไทย ปริมาณฝนสะสม 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา ฝนตกปานกลางถึงหนักบริเวณด้านตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในพื้นที่ จ.อุบลราชธานี มุกดาหาร ยโสธร ระดับน้ำในแม่น้ำสำคัญ ระดับน้ำบริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้ ยังอยู่ในเกณฑ์น้อยถึงน้อยวิกฤต ความเค็มในแม่น้ำเจ้าพระยา ความเค็มที่สถานีสูบน้ำสำแล 0.18 กรัม/ลิตร (เกณฑ์ความเค็มมาตรฐานน้ำดิบเพื่อผลิตน้ำประปา 0.25 กรัม/ลิตร)
3
สถานการณ์ปัจจุบัน อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่วันที่ 22 มิ.ย. 58 ปริมาณน้ำกักเก็บรวมทั้งประเทศเหลืออยู่ 46% โดยทั้งนี้กรมชลประทานได้ปรับลดการระบายน้ำเขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนแควน้อยฯ และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เพื่อให้มีปริมาณน้ำเพียงพอต่อการใช้น้ำในฤดูฝนนี้ เขื่อนภูมิพล มีปริมาณน้ำกักเก็บคงเหลือ 31% น้ำใช้การได้จริงเพียง 323 ล้าน ลบ.ม. โดยต้องเก็บน้ำไว้สำรองความมั่นคงทางด้านพลังงานอีก 176 ล้าน ลบ.ม. เมื่อวานนี้ไม่มีน้ำไหลลงอ่างฯ สถานการณ์น้ำอยู่ในภาวะน้อยวิกฤต ปัจจุบันระบายน้ำวันละ 8 ล้าน ลบ. เขื่อนสิริกิติ์ มีปริมาณน้ำกักเก็บคงเหลือ 36% เป็นน้ำใช้การได้จริง 615 ล้าน ลบ.ม. โดยต้องเก็บน้ำไว้สำรองความมั่นคงทางด้านพลังงานอีก 146 ล้าน ลบ.ม. เมื่อวานนี้มีน้ำไหลลงอ่างฯอยู่ที่ 2.78 ล้าน ลบ.ม. สถานการณ์น้ำอยู่ในเกณฑ์น้อย ปัจจุบันระบายน้ำวันละ ล้าน ลบ.ม. เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ มีปริมาณน้ำกักเก็บคงเหลือ 8% เป็นน้ำใช้การได้จริง 73 ล้าน ลบ.ม. เมื่อวานนี้ไม่มีน้ำไหลลงอ่างฯ สถานการณ์น้ำอยู่ในเกณฑ์น้อย ปัจจุบันระบายน้ำวันละ 1.36 ล้าน ลบ.ม.
4
การคาดการณ์ฝนและความสูงคลื่นทะเล
คาดการณ์ฝน ช่วงวันที่ มิ.ย. 58 พายุโซนร้อน“คูจิ ระ”(KUJIRA) บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน ประกอบกับลม มรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะมีกำลังแรงขึ้น ทำให้จะมีฝนตก ปานกลางถึงหนักบริเวณด้านตะวันตกของภาคเหนือ ด้าน ตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง คาดการณ์ฝน ช่วงวันที่ มิ.ย. 58 มรสุมตะวันตก เฉียงใต้ยังคงทวีกำลังแรงขึ้น ประกอบกับ พายุ “คูจิ ระ”(KUJIRA) จะเข้าสู่เกาะไหหลำ และทางตอนใต้ของ ประเทศจีน ส่งผลให้มีฝนตกเพิ่มขึ้นบริเวณภาคเหนือ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก กับ จะมีฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณด้านตะวันตกของ ภาคเหนือ โดยเฉพาะ จ.ตาก คาดการณ์คลื่น ช่วงวันที่ มิ.ย. 58 มรสุมตะวันตก เฉียงจะทวีกำลังแรงขึ้น ทำให้คลื่นลมฝั่งอันดามัน และฝั่ง อ่าวไทยมีกำลังแรงขึ้น โดยช่วงวันที่ 24 มิ.ย. ทะเลอันดา มันตอนบน และทะเลอ่าวไทยตอนบน อาจมีความสูงคลื่น มากกว่า 2 เมตร 4
5
เส้นทางพายุและภาพถ่ายจากดาวเทียม MTSAT-2
วันที่ 22 มิ.ย. 58 เวลา 9.00 น. 5 5
6
ปริมาณฝนสะสม 24 ชั่วโมงย้อนหลังสูงสุด
วันที่ 22 มิ.ย. 58 เวลา น. 6
7
สถานการณ์ระดับน้ำในแม่น้ำสายสำคัญ ( 22 มิ.ย. 58)
ระดับน้ำบริเวณภาคเหนือ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้ อยู่ในเกณฑ์น้อยถึง น้อยวิกฤต 7
8
ปริมาณน้ำกักเก็บในอ่างขนาดใหญ่ (22 มิ.ย. 58)
9
ค่าความเค็มบริเวณแม่น้ำเจ้าพระยา (22 มิ.ย. 58)
ค่าความเค็มบริเวณแม่น้ำเจ้าพระยา (22 มิ.ย. 58) เวลา น. สถานีสำแล สถานีสะพานพระนั่งเกล้า ที่มา: การประปานครหลวง
10
การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF-ROMS (ความละเอียด 3x3 กม
22 มิ.ย. 58 23 มิ.ย. 58 24 มิ.ย. 58 10
11
การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF-ROMS (ความละเอียด 9x9 กม
25 มิ.ย. 58 26 มิ.ย. 58 27 มิ.ย. 58 28 มิ.ย. 58 11 11
12
คาดการณ์ปริมาณน้ำไหลลงเขื่อน และน้ำท่าในลุ่มน้ำเจ้าพระยา
44 4 25 1 2 0.1 0.01 9 3 ปริมาณน้ำไหลลงเขื่อน ระหว่างวันที่ มิ.ย. 58 อ่างเก็บน้ำ/ลุ่มน้ำ ปริมาณท่า (ล้าน ลบ.ม.) ภูมิพล 44 สิริกิติ์ 25 ป่าสัก 9 ลุ่มน้ำยม 5 ที่มา: สสนก. 12 XX ปริมาณน้ำท่า (ล้าน ลบ.ม.)
13
คาดการณ์ความสูงและทิศทางคลื่นทะเลบริเวณอ่าวไทยและอันดามัน
22 มิ.ย. 2558 7.00 น. 19.00 น. 23 มิ.ย. 2558 24 มิ.ย. 2558 7.00 น. 19.00 น. 7.00 น. 19.00 น. ที่มา: สสนก. 13
14
ปัจจัยที่ใช้ในการคาดการณ์ฝนรายฤดูกาล
ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนีมรสุม Indian Monsoon Index - ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย Western Pacific Monsoon Index - ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิก Madden-Julian Oscillation (MJO) - ความผันแปรของลักษณะอากาศในเขตร้อน พบว่า ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย ปี 2558 มีค่าสูงกว่าปกติมาก ทำให้มรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะมีกำลังแรง ปัจจัยระดับภูมิภาค: ดัชนีสมุทรศาสตร์ Oceanic Niño Index (ONI) - บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก Pacific Decadal Oscillation Index (PDO) - บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ Dipole Mode Index (DMI) - บริเวณมหาสมุทรอินเดีย พบว่า ดัชนี ONI PDO และ DMI ปี 2558 ใกล้เคียงกับปี 2530 โดยจะมีปริมาณฝนน้อยกว่าค่าเฉลี่ยประมาณ 7 เปอร์เซ็นต์
15
ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย
สูงกว่าปกติ ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดียของปี 2558 มีค่าสูงกว่าปกติเล็กน้อยตั้งแต่ต้นปี และมีค่าสูงขึ้นในช่วงเดือนมิถุนายน ปัจจุบันดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดียสูงกว่าค่าปกติมาก ทำให้มรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะมีกำลังค่อนข้างแรง ส่งผล ให้ในระยะ 2-4 สัปดาห์จะมีฝนตกหนาแน่นบริเวณด้านรับลมมรสุม โดยเฉพาะบริเวณด้านตะวันตกของประเทศ
16
ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิก
สูงกว่าปกติ ปัจจุบันดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิกมีค่า สูงกว่าปกติ ลมมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิกจะมีกำลังแรงขึ้น
17
ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนี MJO (Madden-Julian Oscillation)
ธันวาคม 2557 มกราคม 2558 ฝนน้อยกว่าปกติ กุมภาพันธ์ 2558 มีนาคม 2558 ฝนใกล้เคียงปกติ เมษายน 2558 ฝนมากกว่าปกติ พฤษภาคม 2558 มิถุนายน 2558 ปัจจุบัน ดัชนี MJO ตรงบริเวณประเทศไทยมีค่าต่ำกว่าปกติ ส่งผลให้ในระยะ 2 สัปดาห์ข้างหน้า จะมีปริมาณฝนมากกว่าค่าปกติ ที่มา: NCEP/CDAS and CFS
18
ปัจจัยระดับภูมิภาค: ดัชนีสมุทรศาสตร์
ONI= +0.74 IOD = +0.19 PDO = +1.44 Source ONI: PDO: IOD: ดัชนี PDO ยังคงสภาพเป็นบวก ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ (เดือนก่อนหน้าเป็น +1.44) ดัชนี ONI (ENSO) มีสภาพเป็นบวกหรือเอลนีโญอ่อนๆ ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ (เดือนก่อนหน้าเป็น +0.59) ดัชนี DMI (IOD) มีสภาพเป็นกลาง ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ (เดือนก่อนหน้าเป็น -0.07) ดัชนี > 0.5 แนวโน้มปริมาณฝนน้อยกว่าปกติ ดัชนี <-0.5 แนวโน้มปริมาณฝนมากกว่าปกติ Pacific Decadal Oscillation (PDO) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA เดือนเมษายน บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก เหนือ 20oN Oceanic Niño Index (ONI) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA 3 เดือน (กุมภาพันธ์-มีนาคม-เมษายน) ในมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณ 5oN-5oS, 120o-170oW Indian Ocean Dipole (IOD) เป็นผลต่าง SSTA ของเดือนมีนาคม บริเวณ 50-70oE, 10oS-10oN และ E, 10oS-0oN 18
19
จัดกลุ่มปีที่มีดัชนีระดับภูมิภาคใกล้เคียงกัน
แนวโน้มปริมาณฝนปี 2558 ใกล้เคียงกับปี 2530 ดัชนีระดับภูมิภาค ช่วงเดือนตุลาคม 2557 – เดือนมีนาคม ปี 2558 ใกล้เคียงกับปี 2529/2530 คาดการณ์ได้ว่าในระยะ 6 เดือนข้างหน้า หรือระหว่างเดือนมิถุนายน-เดือนพฤศจิกายน 2558 ประเทศไทยจะมีปริมาณฝนใกล้เคียงกับปี 2530 โดย หรือต่ำกว่าค่าเฉลี่ย โดยจะมีปริมาณฝนสะสม 6 เดือน ประมาณ 1,000-1,200 มิลลิเมตร
20
เปรียบเทียบปริมาณฝนสะสม 3 เดือน ระหว่างเดือนมิถุนายน-สิงหาคม
ค่าเฉลี่ย 30 ปี ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี ปี 2530 mm. mm. -27.27%
21
เปรียบเทียบปริมาณฝนสะสม 3 เดือน ระหว่างเดือนกันยายน-พฤศจิกายน
ค่าเฉลี่ย 30 ปี mm. ปี 2530 ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี mm. +35.11%
22
เปรียบเทียบปริมาณฝนรายเดือน เดือนมิถุนายน-สิงหาคม
ค่าเฉลี่ย 30 ปี ปี 2530 ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี มิถุนายน 177 mm. 188 mm. +11.28% กรกฏาคม 189 mm. 116 mm. -73.29% สิงหาคม 231 mm. 266 mm. +34.73%
23
เปรียบเทียบปริมาณฝนรายเดือน เดือนกันยายน-พฤศจิกายน
ค่าเฉลี่ย 30 ปี ปี 2530 ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี กันยายน 242 mm. 271 mm. +29.75% ตุลาคม 163 mm. 130 mm. -32.46% พฤศจิกายน 79 mm. 116 mm. +37.82%
24
ปริมาณน้ำไหลเข้า - เขื่อนภูมิพล
เฉลี่ย 2553 2530 2556 2558 2557 ปี 2530 ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมน้อยกว่าค่าเฉลี่ย และน้อยกว่าปี 2553 ซึ่งเป็นปีที่เกิดภัยแล้ง แต่มากกว่าปี 2556 และปี 2557 โดยส่วนใหญ่จะมีน้ำไหลเข้าเขื่อนมากในช่วงเดือนกันยายนถึงตุลาคม
25
ปริมาณน้ำไหลเข้า - เขื่อนสิริกิติ์
2553 เฉลี่ย 2557 2556 2558 2530 ปี 2530 ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมน้อยกว่าค่าเฉลี่ยเล็กน้อย และน้อยกว่าปี 2553 แต่มากกว่าปี 2556 และปี 2557 โดยส่วนใหญ่จะมีน้ำไหลเข้าเขื่อนมากในช่วงเดือนสิงหาคมถึงกันยายน
26
สรุปผลคาดการณ์ปริมาณฝนปี 2558 ระหว่างเดือนพฤษภาคม-เดือนธันวาคม
ปี 2558 ประเทศไทยจะมีปริมาณฝนค่อนข้างต่ำกว่าปกติ หรือใกล้เคียงกับปี 2530 เดือนมิถุนายน - สิงหาคม 2558 จะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ โดยภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และตอนกลางของประเทศ จะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคเหนือตอนบน ด้านตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง แต่ตอนกลางของภาคเหนือ ด้านตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกบริเวณ จ.จันทบุรีและตราด จะมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ เดือนกันยายน - พฤศจิกายน 2558 จะมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ โดยจะมีฝนตกชุกในช่วงเดือนกันยายน บริเวณภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ภาคกลาง และภาคตะวันออก แต่ในช่วงเดือนตุลาคม จะมีฝนต่ำกว่าปกติเกือบทั่วทุกภาค ยกเว้น ภาคตะวันออก บริเวณ จ.ระยองและชลบุรี จะยังมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.