งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
จังหวัด ปัตตานี

2 Generic Value Chain การสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี STEP 1
จังหวัดปัตตานี “การแก้ไข ปัญหาขยะ และน้ำเสีย” การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม สร้างความมีส่วนร่วมในการ บริหารจัดการที่ดีจากทุกภาคส่วน การพัฒนาระบบกำกับ ป้องกัน ปัญหา การติดตามประเมินผล ตรวจสอบ และควบคุมการดำเนินงาน การจัดการมลพิษ (ขยะและน้ำเสีย) การจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน (พื้นที่สีเขียวและภูมิทัศน์) การจัดการสิ่งแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติ แหล่งธรณีวิทยา แหล่งศิลปกรรม และแหล่งมรดกทางธรรมชาติและศิลปวัฒนธรรม และแหล่งท่องเที่ยว การสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบของ อปท.ต่อสิ่งแวดล้อม การพัฒนาและกระตุ้นบทบาทของภาคีเครือข่ายในการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กำหนดและจำแนกเขตพื้นที่ปัญหาและ/หรือมีแนวโน้มที่จะเกิดปัญหาขึ้นในอนาคต คัดเลือกมาตรการจัดการป้องกัน แก้ไข หรือฟื้นฟูพื้นที่ตามความเหมาะสม ป้องกันพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาซ้ำ ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการบังคับใช้โดยเฉพาะในพื้นที่วิกฤติ - เร่งด่วน กำหนดมาตรการเชิงรุกในการติดตามและตรวจสอบสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดทำระบบประเมินผลการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการในระดับพื้นที่

3 ประเด็นปัญหาสำคัญ “การแก้ไขปัญหาขยะและน้ำเสีย”
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ และเป็นแหล่งสร้างงานสร้างรายได้แก่ชุมชน ประเด็นปัญหาสำคัญ “การแก้ไขปัญหาขยะและน้ำเสีย” STEP 1 การจัดทำฐานข้อมูลขยะและน้ำเสียสิ่งแวดล้อม ป้องกันและแก้ไข ปัญหาขยะและน้ำเสีย ส่งเสริมการมีส่วน ร่วมของชุมชน พัฒนาและปรับปรุงสถานที่กำจัด ขยะมูลฝอย/เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การกำจัดขยะ/แปรรูปขยะ/น้ำเสีย การติดตามประเมินผล ตรวจสอบขยะและ ควบคุมการดำเนินงาน CSF 1.1 องค์ความรู้ในการ บริหารการจัดการขยะและน้ำเสีย CSF 1.2 แผนการบริหาร จัดการขยะและน้ำเสีย CSF 2.1 การบริหารจัดการขยะชุมชนและน้ำเสียในเขต อุตสาหกรรม CSF 2.2 การบังคับใช้กฎหมายในการจัดการ ขยะมูลฝอย CSF 2.3 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติการตามมาตรการการป้องกันแก้ไขและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากปัญหาขยะมูลฝอย CSF 3.1 การส่งเสริมการ ลดปริมาณขยะและน้ำเสียของครัวเรือน CSF 3.2 การส่งเสริมการคัดขยะแยกขยะ ลดปริมาณ น้ำเสีย CSF 3.3 การส่งเสริมการนำขยะและน้ำเสียของชุมชนกลับมาใช้ประโยชน์ CSF 3.4 การบำบัดน้ำเสีย ครัวเรือน CSF 4.1 พัฒนาปรับปรุงฟื้นฟูสถานที่กำจัดขยะมูลฝอย CSF 4.2 ความร่วมมือของเครือข่ายชุมชนในการบริหารจัดการขยะ CSF 4.3 การฟื้นฟูคุณภาพน้ำ CSF 4.4 การฟื้นฟูพื้นที่ทิ้ง/ฝั่ง/กลบขยะ CSF 4.5 ผลิตพลังงานทางเลือกจากขยะและน้ำเสีย CSF 5.1 การกำหนดและจำแนกเขตพื้นที่ปัญหาและ/หรือแนวโน้มที่จะเกิดปัญหาขึ้นในอนาคต CSF 5.2 คัดเลือกมาตรการการจัดการป้องกัน แก้ไขหรือฟื้นฟูพื้นที่ตามความเหมาะสม CSF 5.3 ป้องกันพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาซ้ำ CSF 5.4 กำหนดมาตรการเชิงรุกในการติดตามตรวจสอบสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

4 จำนวนจังหวัดที่มีข้อมูลเหมือนกัน
รายการสถิติทางการที่สำคัญจำเป็น ด้านขยะ สรุป รายการสถิติทางการทั้งหมด 156รายการ / 4 จังหวัด รายการสถิติทางการ Common 20 รายการ รายการสถิติทางการที่ตรงกับ รายสาขา 4 รายการ /1สาขา(ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม) รายการสถิติทางการที่สำคัญจำเป็น 4 รายการแรก ที่ รายการสถิติทางการ จำนวนจังหวัดที่มีข้อมูลเหมือนกัน 1. ปริมาณการกำจัดขยะต่อวัน จำแนกตามประเภทของขยะ และเขตการปกครอง 3 2. ปริมาณการจัดเก็บขยะเพิ่มขึ้น (เที่ยว/วัน 3. ปริมาณขยะต่อวัน จำแนกตามประเภทของขยะ และเขตการปกครอง 4. ปริมาณขยะสะสมต่อปี จำแนกตามประเภทของขยะ และเขตการปกครอง

5 รายการสถิติทางการที่สำคัญจำเป็น ด้านขยะ
จังหวัดปัตตานี ผังรายการสถิติทางการ “การแก้ไขปัญหาน้ำเสียและขยะ” จังหวัดปัตตานี ห่วงโซ่คุณค่า (VC) และปัจจัยสู่ความสำเร็จ (CSF) ตัวชี้วัด ข้อมูลที่สำคัญและจำเป็น หน่วย มี/ไม่มี ฐาน ข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ความถี่ของข้อมูล หน่วยงานผู้รับผิดชอบ CSF 2.1 การบริหารจัดการน้ำเสียและขยะชุมชน/น้ำเสียและขยะจากภาคเกษตร/น้ำเสียและขยะและของเสียอุตสาหกรรม KPI 2.1.1 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการขยะ Data ปริมาณขยะต่อวัน จำแนกตามประเภทของขยะ และเขตการปกครอง ตัน มี เอกสารขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น. รายปี สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Data ปริมาณการกำจัดขยะต่อวัน จำแนกตามประเภทของขยะ และเขตการปกครอง Data ปริมาณขยะสะสมต่อปี จำแนกตามประเภทของขยะ และเขตการปกครอง เอกสารขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น. Data ปริมาณการจัดเก็บขยะเพิ่มขึ้น(เที่ยว/วัน) - CSF 3.1 การส่งเสริมการลดปริมาณน้ำเสียและขยะต่อครัวเรือน KPI 3.1.1 ปริมาณขยะมูลฝอยต่อครัวเรือนลดลง Data จำนวนครัวเรือนจำแนกตามเขตการปกครอง ครัวเรือน ทะเบียน สนง.สถิติจังหวัด สุราษฎร์ธานี Data ปริมาณขยะมูลฝอยที่รวบรวมแล้วเก็บขนได้ จำแนกตามเขตการปกครอง สำรวจ KPI 3.1.2 อัตราการเกิดขยะมูลฝอยเทียบกับจำนวนประชากรต่อวัน Data จำนวนประชากรตามทะเบียนจำแนกตามเขต การปกครอง คน STEP 2

6 วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ STEP 2
แผนภูมิแสดงปริมาณขยะและปริมาณการกำจัดขยะ ของ 5 จังหวัด วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ จังหวัดปัตตานี “การแก้ไข ปัญหาขยะ และน้ำเสีย” จากแผนภูมิ จะเห็นว่าปริมาณขยะต่อปีและปริมาณการกำจัดขยะ ของ 5 จังหวัดมีปริมาณขยะมาก แต่ปริมาณการกำจัดขยะมีสัดส่วนที่กำจัดได้น้อย ดังนั้น จะทำอย่างไรเพื่อให้ระบบการกำจัดขยะมูลฝอยสามารถดำเนินการได้อย่างเต็มกำลังการกำจัดขยะ เพื่อให้สามารถรองรับขยะที่เพิ่มขึ้นในแต่ละวัน เช่น โครงการสนับกำจัดขยะร่วมโดยเอกชน และโครงการสร้างจิตสำนึกระดับครัวเรือนในการคัดแยกขยะ เพื่อให้สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ และเป็นแหล่งสร้างงานสร้างรายได้แก่ชุมชน ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม STEP 2

7 วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ STEP 2
แผนภูมิแสดงประเภทขยะ พ.ศ จังหวัดปัตตานี วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ จังหวัดปัตตานี “การแก้ไข ปัญหาขยะ และน้ำเสีย” ตัน จากแผนภูมิ เศษอาหารเป็นองค์ประกอบของขยะมูลฝอยที่มีปริมาณมากที่สุด รองลงมาเป็นกระดาษ และพลาสติกตามลำดับ ดังนั้น จึงควรมีการสนับสนุนการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ของขยะประเภทเศษอาหาร และ พลาสติก เพื่อลดปริมาณขยะ และควรมีการวางแผนการบริหารการจัดการขยะในเขตพื้นที่ชุมชนและเขตอุตสาหกรรมเช่น โครงการสนับกำจัดขยะร่วมโดยเอกชน และโครงการสร้างจิตสำนึกระดับครัวเรือนในการคัดแยกขยะ STEP 2

8 โครงการสำคัญ / มาตรการ
จังหวัดปัตตานี “การแก้ไข ปัญหาขยะ และน้ำเสีย” สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) (การวิเคราะห์ข้อมูล Step 2) โครงการสำคัญ / มาตรการ เพื่อให้ระบบการกำจัดขยะมูลฝอยสามารถดำเนินการได้อย่างเต็มกำลังการกำจัดขยะ เพื่อให้สามารถรองรับขยะที่เพิ่มขึ้นในแต่ละวัน โครงการสนับกำจัดขยะร่วมโดยเอกชน เพื่อให้เกิดการสนับสนุนการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ของขยะประเภทเศษอาหาร และ พลาสติก เพื่อลดปริมาณขยะ โครงการสร้างจิตสำนึกระดับครัวเรือนในการคัดแยกขยะ STEP 3

9 1. โครงการกำจัดขยะรวมโดยเอกชน
จังหวัดปัตตานี 1. โครงการกำจัดขยะรวมโดยเอกชน วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย 1. เพื่อกำจัดขยะรวมในพื้นที่เขตอุตสาหกรรมและในพื้นที่อำเภอ 2.เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดการและพัฒนาขยะให้เป็นพลังงาน ลดการปล่อยมลพิษกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม 3.เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ 1. กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาระบบคัดแยก โดยสร้างที่พักขยะ/ศูนย์คัดแยกขยะ 2. กิจกรรมศึกษาพัฒนาขยะมูลฝอยเป็นพลังงาน โดยการใช้ประโยชน์จากการคัดแยกขยะ 2.1 เผาขยะเพื่อสร้างกระแสไฟฟ้า 2.2 ทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ STEP 4

10 2. โครงการสร้างจิตสำนึกของการคัดแยกขยะ ระดับครัวเรือน
จังหวัดปัตตานี “การแก้ไข ปัญหาขยะและน้ำเสีย” 2. โครงการสร้างจิตสำนึกของการคัดแยกขยะ ระดับครัวเรือน วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย 1. เพื่อลดปริมาณขยะ 2. เพื่อให้ครัวเรือนคัดแยกขยะเบื้องต้น กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ 1. ให้ความรู้ รณรงค์ด้านการคัดแยกขยะ 2. จัดอุปกรณ์ในการคัดแยกขยะ เช่น ขยะแห้ง ขยะเปียก ขยะอันตราย พลาสติก เป็นต้น STEP 4


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google