ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
2
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
3
หัวข้อเรื่อง
4
ประพจน์ คือ ประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธที่เป็นจริงหรือเป็นเท็จอย่างใด อย่างหนึ่งเท่านั้นโดยที่ประโยคคำถาม ขอร้อง อุทาน และคำสั่งไม่ถือว่าเป็นประพจน์ ดังตัวอย่าง 5 เป็นจำนวนจริง เป็นประพจน์ (ประโยคบอกเล่า) 3 + 1 มากกว่า 2 เป็นประพจน์ (ประโยคบอกเล่า) นกเป็นสัตว์ที่มี 2 ขา ประพจน์ (ประโยคบอกเล่า) อย่าเสียใจไปเลย ไม่เป็นประพจน์ (ห้าม) กรุณาอย่าส่งเสียงดัง ไม่เป็นประพจน์ (ขอร้อง ทำไมเค้าถึงสอบได้คะแนนดี ไม่เป็นประพจน์ (คำถาม)
5
ค่าของประพจน์แทนด้วย
T ย่อยมาจาก True แทนค่าความจริงของประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง F ย่อยมาจาก False แทนค่าความจริงของประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ ตัวเชื่อมประพจน์มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 4 ตัว คือ 1. “และ” แทนด้วย สัญญาลักษณ์นี้ 2. “หรือ” แทนด้วย สัญญาลักษณ์ 3. “ถ้า...แล้ว...” แทนด้วย สัญญาลักษณ์ 4. “...ก็ต่อเมื่อ...” แทนด้วย สัญญาลักษณ์
6
จงเขียนให้อยู่ในรูปประโยคสัญลักษณ์
ถ้าให้ P เป็นประพจน์ P คือ นิเสธของประพจน์ P ซึ่งจะเป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงตรงกันข้ามกับประพจน์ P P P T F P แทนประพจน์ “4 เป็นจำนวนเต็มบวก” Q แทนประพจน์ “4 เป็นจำนวนจริง” R แทนประพจน์ “4 หาร 8 ลงตัว” ตัวอย่าง กำหนดให้ P ก) 4 ไม่เป็นจำนวนเต็มบวก ข) 4 เป็นจำนวนจริง และ 4 หาร 8 ลงตัว ค) 4 เป็นจำนวนเต็มบวก หรือ 4 เป็นจำนวนจริง ง) ถ้า 4 เป็นจำนวนเต็มบวก แล้ว 4 หาร 8 ลงตัว จ) 4 เป็นจำนวนเต็มบวกก็ต่อเมื่อ 4 เป็นจำนวนจริง QR จงเขียนให้อยู่ในรูปประโยคสัญลักษณ์ PQ PR PQ
7
ตัวอย่าง จงสร้างตารางแสดงค่าความจริงของ (PQ)P
ในการพิจารณาค่าความจริงของประพจน์ ที่เกิดจากการเชื่อมประพจน์ของประพจน์ย่อยหลายประพจน์ อาจทำได้โดยการสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์นั้น ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่าง จงสร้างตารางแสดงค่าความจริงของ (PQ)P P T F Q T F P F T PQ T F (PQ)P T F
8
ขั้นที่ 1 กำหนดค่าความจริงของ P และ Q ให้ครบทุกกรณีที่เป็นไปได้ (ซึ่งมี 4 กรณี)
ขั้นที่ 2 หาค่าความจริงของ P ซึ่งตรงกันข้ามกับค่าความจริงของ P ขั้นที่ 3 หาค่าความจริงของประพจน์ PQ โดยนำค่าความจริงในสดมภ์ของ P กับสดมภ์ของ Q มาพิจารณาหาค่าความจริง โดยใช้ตัวเชื่อม “หรือ” โดยพิจารณาทีละกรณี ขั้นที่ 4 หาค่าความจริงของประพจน์ (PQ) P โดยนำค่าความจริงของสดมภ์ PQ กับสดมภ์ของ P มาพิจารณาหาค่าความจริงโดยใช้ตัวเชื่อม “ถ้า...แล้ว...” โดยพิจารณาทีละกรณี
9
หัวข้อเรื่อง
10
สัจนิรันดร์ (Tautology) คือ ประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงเสมอ
ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่า (pq) p เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ p q pq (pq) p T F จากตารางแสดงค่าความจริงจะเห็นว่า (pq) p มีค่าความจริงเป็นจริงทุกกรณี ดังนั้นจึงเป็น สัจนิรันดร์
11
ประพจน์ 2 ประพจน์จะสมมูลกันเมื่อมีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี และจะเป็นนิเสธกันเมื่อมีค่าความจริงตรงข้ามกันทุกกรณี p q pq (pq) p q pq T F จะเห็นว่า (pq) มีค่าความจริงเหมือนกับ pq ทุกกรณี ดังนั้น (pq) สมมูลกับ pq เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ (pq) pq และ pq มีค่าความจริงตรงข้ามกับ pq ทุกกรณี ดังนั้น pq เป็นนิเสธของ pq
12
2) เขาเรียนอยู่ชั้น ปวส.1
ประโยคเปิด (Open Sentence) คือ ประโยคบอกเล่าหรือปฏิเสธที่มีตัวแปรและไม่ใช่ประพจน์ แต่เมื่อแทนตัวแปรนั้นด้วยสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์แล้วจะเป็นประพจน์ เช่น 1) 2x + 6 = 0 2) เขาเรียนอยู่ชั้น ปวส.1
13
แทนตัวบ่งปริมาณ “สำหรับทุกๆ...” หรือ “สำหรับแต่ละ”
ตัวบ่งปริมาณ (Quantifier) มีอยู่ 2 แบบ คือ แทนตัวบ่งปริมาณ “สำหรับทุกๆ...” หรือ “สำหรับแต่ละ” แทนตัวบ่งปริมาณ “สำหรับบางส่วน...” หรือ “จะมีบางค่าของ” ตัวอย่าง จงเขียนข้อความต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ เมื่อเอกภาพสัมพัทธ์คือเซตของจำนวนจริง ก) สำหรับ x ทุกตัว 5x + 2x = 7x ข) มีจำนวน x ซึ่ง 7x – 5x = x ค) สำหรับ x แต่ละตัว ถ้า x เป็นจำนวนนับ และ x เป็นจำนวนตรรกยะ
14
หัวข้อเรื่อง
15
ให้ U เป็นเอกภพสัมพัทธ์ สิ่งสำคัญที่ควรทราบมีดังนี้
1. x [P(x)] มีค่าความจริงเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ P(x) เป็นจริงสำหรับทุกๆ ค่า ของ x U 2. x [P(x)] มีความจริงเป็นเท็จ ก็ต่อเมื่อ มี x U อย่างน้อย 1 ตัวที่ทำให้ P(x) เป็นเท็จ 3. x [P(x)] มีค่าความจริงเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ มี x U อย่างน้อย 1 ตัวที่ทำให้ P(x) เป็นจริง 4. x [P(x)] มีค่าความจริงเป็นเท็จ ก็ต่อเมื่อ ทุกๆ ค่า x U ทำให้ P(x) เป็นเท็จทั้งหมด
16
ถ้า เหตุ p, q, r นำมาสรุปเป็นผล s ได้ นั่นคือ สมเหตุสมผล
การอ้างเหตุผล (Argument) คือ การที่จะตรวจสอบว่า จากเหตุหรือสิ่งที่โจทย์กำหนดมาให้ เราสามารถนำมาสรุปเป็นผลอย่างใดอย่างหนึ่งได้หรือไม่ เช่น ถ้ามีเหตุ p, q, r และผลที่ต้องการคือ s เราจะสามารถเขียนข้อมูลดังกล่าวได้ในรูป เหตุ 1. p 2. q 3. r ผล s ถ้า เหตุ p, q, r นำมาสรุปเป็นผล s ได้ นั่นคือ สมเหตุสมผล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.