ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKristin Esser ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การประชุมบริหารจัดการพลังงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ปีงบประมาณ 2559 25 มีนาคม 2559 เวลา – น. ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
2
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องแจ้งให้ที่ประชุมทราบ 1.ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม การดำเนินงานตามตัวชี้วัด ก.พ.ร. : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของจังหวัด หน่วยวัด : ลดปริมาณการใช้ลงร้อยละ 10 ของปริมาณการใช้มาตรฐาน น้ำหนัก : ร้อยละ XXX คำอธิบาย : ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของจังหวัด หมายถึง การที่จังหวัด สามารถจัดการใช้ไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงของหน่วยงานในจังหวัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีผลการใช้ ไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงลดลงได้อย่างน้อยร้อยละ 10 เหตุผล : พลังงานเป็นปัจจัยที่สำคัญในการตอบสนองความต้องการของประชาชน ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม แต่ประเทศไทยมิได้มีแหล่งพลังงานเชิงพาณิชย์ภายในประเทศมากพอกับความต้องการ ทำให้ต้องพึ่งพา พลังงานจากต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ ที่ปัจจุบันมีมูลค่ากว่า 5 แสนล้านบาท แนวทางสำคัญที่จะช่วยลดอัตรา การเพิ่มความต้องการใช้พลังงานของประเทศ คือการส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและ ประหยัดในทุกภาคส่วน คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2555 ได้มีมติให้หน่วยงานราชการ ดำเนินมาตรการลดใช้พลังงานลงให้ได้อย่างน้อยร้อยละ 10 เพื่อเป็นตัวอย่างให้กับภาคเอกชน ภาคประชาชน ใน การช่วยลดรายจ่ายของประเทศโดยลดการนำเข้าน้ำมันจากต่างประเทศ
3
2. ขอความร่วมมือประหยัดพลังงาน
2.1 ตามหนังสือจังหวัดอุตรดิตถ์ที่ อต /ว399 ลงวันที่ 21 มกราคม 2559 ขอความร่วมมือประหยัดพลังงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดอุตรดิตถ์ “ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามมาตรการประหยัดพลังงานของจังหวัด” รายละเอียดดังนี้ 1) ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศไว้ที่ 25 – 27 องศาเซลเซียส 2) ลด ชม.การทำงานของเครื่องปรับอากาศในแต่ละวันให้ใช้ไม่เกินวันละ 5 ชม. เปิด-ปิดตามความเหมาะสม (09.30 – และ ) 3) เปิดไฟฟ้าและแสงสว่างเฉพาะเท่าที่ปฏิบัติงาน ปิดไฟฟ้าแสงสว่างเมื่อไม่ได้ใช้งาน 4) ปิดไฟฟ้าแสงสว่างระหว่างหยุดพักกลางวัน (เวลา น) หรือเมื่อเลิกใช้งานเปิดเฉพาะที่จำเป็น
4
2. ขอความร่วมมือประหยัดพลังงาน
5) รณรงค์ใช้บันไดแทนการใช้ลิฟต์ เมื่อขึ้นลงระหว่างชั้น (ชั้น1,3,5)ของศาลากลางจังหวัดและใช้ลิฟต์1 ตัวในวันหยุดราชการ 6) ใช้หลอดไฟฟ้าแสงสว่างเท่าที่จำเป็นและเปลี่ยนเป็นหลอดไฟฟ้าประหยัดพลังงาน
5
2.2 ตามหนังสือจังหวัดอุตรดิตถ์ ที่ อต0015/ว1518 ลงวันที่ 18 มีนาคม 2559
ตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559 นายกรัฐมนตรีได้เน้นย้ำในเรื่องการประหยัดพลังงาน โดยขอความร่วมมือให้ประชาชนผ่าน 2 กิจกรรมหลัก คือ วันที่ 19 มีนาคม เชิญชวนร่วมกันปิดไฟฟ้า 1 ชั่วโมง ระหว่างเวลา – น. กิจกรรมของ กทม.ร่วมกับเมืองต่าง ๆ ทั่วโลก เพื่อกระตุ้นจิตสำนึกของ ปชช.ช่วยลดพลังงานไฟฟ้าและลดก๊าซเรือนกระจก ช่วยกันประหยัด ระหว่างวันที่ 20 มีนาคม – 20 พฤษภาคม 2559 ช่วงระหว่างเวลา – น. โดยแนะนำให้ปฏิบัติ 4 ข้อคือ ปิด ปรับ ปลด เปลี่ยน
6
1)ปิดไฟทุกดวงที่ไม่จำเป็น 2)ปรับอุณหภูมิแอร์ จาก 25 องศาเป็น 26 องศา
คือ 1)ปิดไฟทุกดวงที่ไม่จำเป็น 2)ปรับอุณหภูมิแอร์ จาก 25 องศาเป็น 26 องศา 3)ปลดปลั๊กเมื่อไม่ใช้ 4)เปลี่ยนอุปกรณ์ใหม่ให้ประหยัดพลังงาน
7
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม
ไม่มี
8
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา
3.1 สรุปผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดที่ “ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามมาตรการประหยัดพลังงาน ปี งบประมาณ 2558” จังหวัดอุตรดิตถ์ มีผลการประเมิน เต็ม คะแนน
9
3.2รายงานผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามมาตรการประหยัดพลังงาน ปี งบประมาณ 2559” จังหวัดอุตรดิตถ์ มีผลการประเมิน เต็ม คะแนน
10
(ระบบยังไม่เปิดให้กรอก) (พท.ใช้สอย,พท.ให้บริการ,การออกบริการ)
ผลการประเมินการใช้พลังงาน ณ วันที่ 21 มี.ค.2559 หน่วยงาน ขั้นที่ 1 การติดตาม (ระบบยังไม่เปิดให้กรอก) ขั้นที่ 2 ข้อมูลพลังงาน ไฟฟ้า น้ำมัน ข้อมูลพื้นฐาน รวมคะแนน 1. สสจ.อุตรดิตถ์ 0.000 0.250 0.500 1.000 2.สสอ.เมืองอุตรดิตถ์ (ต.ค.) ดัชนี 3.สสอ.ลับแล 4.สสอ.ตรอน 0.250เพิ่ม กพ. 5.สสอ.พิชัย (พท.ใช้สอย,พท.ให้บริการ,การออกบริการ) 6.สสอ.ท่าปลา (ต.ค.-พ.ย.) 7.สสอ.น้ำปาด 8.สสอ.ฟากท่า 9.สสอ.บ้านโคก 10.สสอ.ทองแสนขัน
11
คำอธิบายและเหตุผล ลดลง 10% Who? What? When? Why? ส่วนราชการ
มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ คำอธิบายและเหตุผล Who? What? When? Why? ประเทศไทยมิได้มีแหล่งพลังงานเชิงพาณิชย์ภายในประเทศมากพอกับความต้องการ ทำให้ต้องพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันมูลค่าการนำเข้าสูงถึง 2 ล้านล้านบาทต่อปี และมีอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.5 ต่อปี หากลดปริมาณการใช้ลงได้ ก็จะส่งผลให้เงินทุนที่ต้องสำรองไว้สร้างความมั่นคงทางพลังงานปรับลดลงด้วย นำเงินไปพัฒนาประเทศด้านอื่นๆ ส่วนราชการ จัดการใช้ น้ำมัน เชื้อเพลิง และ ไฟฟ้า ภายใน องค์การ ตั้งแต่ 1 ต.ค 57 ถึง 30 ก.ย. 58 จังหวัด อุดมศึกษา ปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน อย่างน้อยร้อยละ ของค่ามาตรฐาน ลดลง 10%
12
ปริมาณการใช้พลังงานจริง
มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ สูตรการคำนวณ พิจารณาจากร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของพลังงาน 2 ชนิด คือ [1] ด้านไฟฟ้า และ [2] ด้านน้ำมันเชื้อเพลิง ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน Energy Utilization Index, EUI มาตรฐาน ( ของปริมาณการใช้พลังงาน ) (ปริมาณการใช้พลังงาน ) 90% – จริง ปริมาณการใช้พลังงานจริง เป้าหมาย ลดใช้พลังงานลงให้ได้อย่างน้อย 10% เท่ากับใช้ไม่เกิน 90% ของปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน
13
เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเฉลี่ย ตามกฎกระทรวง ไม่ปรากฏในกฎกระทรวง 5
มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ เกณฑ์การให้คะแนน คิดจาก ของหน่วยงาน ที่เป็นราชการบริหารส่วนกลางในสังกัดกรมที่จัดตั้งขึ้น และหน่วยงานภายในกรมนั้นที่ คะแนนเฉลี่ย ทั้งหมด ตามกฎกระทรวง ไม่ปรากฏในกฎกระทรวง หมายเหตุ ส่วนราชการที่เป็นราชการบริหารส่วนกลางที่ปฏิบัติงานอยู่ในภูมิภาคซึ่งจัดตั้งขึ้นตามกฎกระทรวง จะประเมินรวมกับ จังหวัด การให้คะแนนของแต่ละหน่วยงาน เป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น ระดับ 5 หมายเหตุ สำนักงาน ก.พ.ร. ประเมินระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน โดยใช้ข้อมูลที่ส่วนราชการได้รายงานผลผ่าน เท่านั้น
14
เกณฑ์การให้คะแนน ❶ ดำเนินการ ❷ รายงานผล
มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ เกณฑ์การให้คะแนน ❶ ดำเนินการ ❷ รายงานผล
15
1 รายละเอียดเกณฑ์ที่ มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
คะแนนเต็มรวมไฟฟ้าและน้ำมัน = คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ไฟฟ้า น้ำมัน มีการติดตามและรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของปีงบประมาณ 2558 0.5000 1.1 รอบ 6 เดือน (ตุลาคม มีนาคม 2558) และ 0.2500 1.2 รอบ 12 เดือน (เมษายน กันยายน 2558)
16
มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
บันทึกข้อมูลเกณฑ์ที่ 1
17
2 รายละเอียดเกณฑ์ที่ ข้อมูลพื้นฐาน ครบถ้วน 12 เดือน
มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ รายละเอียดเกณฑ์ที่ 2 คะแนนเต็มรวมไฟฟ้าและน้ำมัน = คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ไฟฟ้า น้ำมัน รวมคะแนนในระดับคะแนนที่ 2 0.5000 2.1 มีการรายงาน สำหรับการประเมินปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน และค่าดัชนีการใช้พลังงานประจำปีงบประมาณ 2558 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ สนพ. กำหนดได้แล้วเสร็จ และ นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557 ถึงเดือนกันยายน 2558 0.2500 2.2 มีการรายงานข้อมูล (ไฟฟ้า หน่วย kWh; กิโลวัตต์-ชั่วโมง) (น้ำมัน หน่วย ลิตร) ประจำปีงบประมาณ นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557 ถึงเดือนกันยายน 2558 ข้อมูลพื้นฐาน ครบถ้วน 12 เดือน ปริมาณพลังงานที่ใช้จริง ครบถ้วน 12 เดือน
18
บันทึกข้อมูลเกณฑ์ที่
มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ บันทึกข้อมูลเกณฑ์ที่ 2.1
19
2.1 สูตรคำนวณค่ามาตรฐาน มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
ข้อมูลพื้นฐาน จัดกลุ่มหน่วยงานออกตามลักษณะงาน กำหนดสูตรประมาณค่ามาตรฐานการใช้พลังงานจำแนกแต่ละกลุ่มหน่วยงานตามลักษณะงาน ค่าสัมประสิทธิ์ของแต่ละกลุ่ม ได้มาจากข้อมูลที่แต่ละหน่วยงานบันทึกไว้ แล้วนำไปหาค่าเฉลี่ย ศึกษารายละเอียด และดาวน์โหลดจาก
20
บันทึกข้อมูลเกณฑ์ที่
มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ บันทึกข้อมูลเกณฑ์ที่ 2.2
21
รายละเอียดเกณฑ์ที่ 3,4,5 มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
คะแนนเต็มรวมไฟฟ้าและน้ำมัน = คะแนน
22
อธิบายวิธีพิจารณา ระดับคะแนนที่ 3, 4 และ 5 / 3,4,5
มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ อธิบายวิธีพิจารณา 3,4,5 ระดับคะแนนที่ 3, 4 และ 5 ระบบตรวจความครบถ้วนของข้อมูลของหน่วยงานตาม ระดับคะแนน 2.1 และ 2.2 ของแต่ละด้าน (ไฟฟ้า กับ น้ำมัน) ข้อมูลด้านใดครบ (คะแนนระดับที่ = 0.50) ระบบจะนำ ข้อมูลที่หน่วยงานบันทึกตามระดับคะแนน 2.1 และ 2.2 ไปเข้าสูตร คำนวณ EUI ข้อมูลด้านใดไม่ครบ (คะแนนระดับที่ = 0.50) ระบบจะ ไม่คำนวณขั้นต่อไป และทำการประมวลคะแนนเพียงถึงระดับ 2 เท่านั้น ระบบจะนำผลลัพธ์ที่ได้จากข้อ 2. ไปเทียบบัญญัติไตรยางศ์เพื่อ ประเมินคะแนนให้กับหน่วยงาน /
23
มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
อธิบายวิธีพิจารณา 3,4,5
24
ผลรวมของคะแนนของหน่วยงานในสังกัด ทั้งหมด จำนวนหน่วยงานในสังกัดทั้งหมด
มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ อธิบายวิธีพิจารณา 3,4,5 ระดับคะแนนที่ 3, 4 และ 5 การคิดคะแนนของส่วนราชการ ส่วนราชการ ที่มีจำนวนหน่วยงานในสังกัดและหรือในพื้นที่ที่ รับผิดชอบมาร่วมในการประเมินผลการประหยัดพลังงาน จะได้รับคะแนนส่วนเพิ่มอีก ของคะแนนที่ได้รับ โดยส่วนราชการนั้น จะต้องมีหน่วยงานที่รายงานข้อมูลผ่าน ครบทุกขั้นตอนเป็นจานวนไม่น้อยกว่า ของจำนวนหน่วยงานทั้งหมด ค่าเฉลี่ยจาก คะแนนของ หน่วยงานในสังกัด ทั้งหมด ผลรวมของคะแนนของหน่วยงานในสังกัด ทั้งหมด จำนวนหน่วยงานในสังกัดทั้งหมด มากกว่า 30 หน่วยงาน 0.05 เท่า ร้อยละ 80
25
มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
สรุประดับคะแนน ปี 58
26
ดูรายงาน ปี 58 หรือย้อนหลัง
มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ดูรายงาน ปี 58 หรือย้อนหลัง ดูข้อมูลย้อนหลังตั้งแต่ปี 50 ดูรายงาน ปี 58
27
การขอเปลี่ยนแปลงฯ ปี 58 รอส่งพร้อม SAR รอบ 12 เดือน
มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ การขอเปลี่ยนแปลงฯ ปี 58 รอส่งพร้อม SAR รอบ 12 เดือน
28
สรุปเกณฑ์และเงื่อนไข ปี 58
มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ สรุปเกณฑ์และเงื่อนไข ปี 58
29
www.e- report.energy.go.th/
ศึกษารายละเอียดเกณฑ์เงื่อนไขและวิธี รายงาน โดยสามารถดาวน์โหลดจาก report.energy.go.th/ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร: ต่อ 364 หรือ 358
30
พลังงาน น้ำ
31
ความเป็นมา จาก การประชุมคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันพุธที่ 22 กรกฎาคม 2558 โดยมีมติให้ทุกหน่วยงานภาครัฐดำเนินมาตรการประหยัดน้ำ โดยลดปริมาณการใช้น้ำลงอย่างน้อยร้อยละ 10 เพื่อเป็นการช่วยบรรเทาปัญหาวิกฤตการขาดแคลนน้ำ
32
เป็นตัวชี้วัดที่ 73 ระดับความสำเร็จของการประหยัดน้ำ
เป็นการดำเนินการตามตัวชี้วัดที่ 73 ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์ และตามมติของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2558 เรื่อง แนวทางประหยัดน้ำในหน่วยงานภาครัฐ ลดการใช้น้ำอย่างน้อย ร้อยละ 10 และให้หน่วยงาน ในสังกัด รายงาน ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัด ประหยัดน้ำ เป็นรายเดือน
33
ปริมาณการใช้น้ำ หมายถึง ปริมาณน้ำที่ใช้ผ่าน มาตรวัดน้ำ และปริมาณน้ำที่ใช้จากระบบอื่น ๆ โดยใช้มาตรวัดการใช้ไฟฟ้าจากโรงสูบน้ำบ่อบาดาล
34
ข้อมูลพื้นฐาน หมายถึง ข้อมูลการใช้น้ำ ประจำปีงบประมาณ และ ปีงบประมาณ เพื่อนำมาเป็นฐานข้อมูล ในการใช้วัดระดับการใช้น้ำมาตรฐาน
35
หน่วยงาน ลดการใช้น้ำอย่างน้อย ร้อยละ 10 ของปริมาณการใช้น้ำมาตรฐาน
เกณฑ์เป้าหมาย หน่วยงาน ลดการใช้น้ำอย่างน้อย ร้อยละ 10 ของปริมาณการใช้น้ำมาตรฐาน
36
กระบวนการปฏิบัติการประหยัดน้ำในหน่วยงานภาครัฐ
37
คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 มีการแต่งตั้งคณะทำงานปฏิบัติการประหยัดน้ำ 2 มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประหยัดน้ำ 3 มีการรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประหยัดน้ำเป็นรายเดือน ภายในระยะเวลาที่กำหนด 4 สามารถลดปริมาณการใช้น้ำน้อยลงเทียบกับปริมาณการใช้น้ำในปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละ 5 5 สามารถลดปริมาณการใช้น้ำน้อยลงเทียบกับปริมาณการใช้น้ำในปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละ 10
38
แนวทาง การใช้น้ำถูกวิธี ประหยัดเงิน ลดโลกร้อน
39
แบบรายงานผลการประหยัดน้ำ ประจำเดือน
40
3.3 ทบทวนคำสั่ง ฯ + มาตรการประหยัดพลังงาน
3.4 การดำเนินงานตามมาตรการประหยัดน้ำ
41
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ
42
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ ว่าง ว่าง ว่าง พูลศิริ ไข่มุกข์ จารุวรรณ วัฒนา รสสุคนธ์ พิศิษฐ์ วาสนา รำไพพรรณ เมธาสิทธิ์
43
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.