งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดประจวบคีรีขันต์ คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดประจวบคีรีขันต์ คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดประจวบคีรีขันต์
คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม

2 โรงไฟฟ้า ชีวมวล และคลีนิคเวชศาสตร์ฯ
สรุปผลการตรวจนิเทศราชการปกติ กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ 4 และ 5 ปี 2559 จังหวัดประจวบคีรีขันต์ รอบที่ 1 มาตรการ59 สถานการณ์ สิ่งท้าทาย สะสมอันดับ 43 ของประเทศ เฉลี่ย 287 ตัน/วัน ขนไปจากแหล่งเกิด 92% นำกลับมาใช้ 6 แห่ง 3.2% ส่วนใหญ่ขนและกำจัดที่เทศบาลปราณบุรีโดยการฝังกลบ ที่เหลือทิ้งที่โล่งของเทศบาลและเผาเอง อปท ออกข้อกำหนดจัดการ 60% ยังไม่ผ่าน EHA4001 จาก 16 เทศบาล *ขยะทั่วไปสะสมสูง ลดขยะก่อนกำจัดน้อย ยังมีบางส่วนกำจัดกำจัดไม่ได้มาตรฐาน เร่งรัดให้ดำเนินการผ่าน อสธจ * บังคับใช้มาตรการผ่าน อสธจ * เร่งรัด EHA4001 ให้ได้ 25% * พัฒนาต้นแบบจังหวัดละ 1 แห่ง * สร้างศักยภาพให้ อปท อสม * จัดทำฐานข้อมูลสถานการณ์ 1 *ยังมีขยะติดเชื้อยังไม่เข้าระบบจัดการตามกฎหมาย *การบริหารจัดการคุณภาพโดยผู้นำ Cup *การจัดการมูลฝอยติดเชื้อเป็นกฎหมายสู่การปฏิบัติ ให้เร่งรัดและกำกับผ่าน อสธจ เฉลี่ย 667 Kg/วัน เฉพาะใน 8 รพ 81 รพสต และชุมชน (ติดเตียง) ส่วนสถานพยาบาลเอกชนไม่มีข้อมูล 5 รพจ้างเอกชนขนและกำจัด อีก 3 แห่งเผาเอง (ทับสะแก บางสะพาน บางสะพานน้อย) ประเมินคุณภาพไม่ผ่าน 2 รพ (กุยบุรี บางสะพานน้อย) รพสต เข้าระบบ Cup ยกเว้น 8 รพสต ในหัวหิน (เผาเอง) *เร่งประเมินตามกฎกระทรวงฯ *เร่งรัดการดำเนินการผ่าน อสธจ *พัฒนาต้นแบบการจัดการครบวงจร *สร้างศักยภาพให้ อปท จนท รพ ฯ *จัดทำฐานข้อมูล 2 *การค้นหากลุ่มเสี่ยง *ทำแผนการสื่อสารและให้ความรู้ *ทำแผนการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยง โรงไฟฟ้า ชีวมวล และคลีนิคเวชศาสตร์ฯ * ระบบการเฝ้าระวัง สื่อสาร และการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ โรงไฟฟ้าชีวมวลหลัก อ.ทับสะแก กำลังผลิต 9.4 เมกะวัตต์ หยุดการผลิตเมื่อ พ.ศ แต่มีโรงผลิดใช้เองและจำหน่ายบางส่วนคือ อ.ปราณบุรี เชื้อเพลิงจากอ้อย กำลังผลิต 8 เมกะวัตต์ และ อ.บางสะพานน้อย เชื่อเพลิงจากปาล์ม กำลังผลิต 1.5 เมกะวัตต์ ปี 2559 มีการประชุม 1 ครั้ง 4 3 มาตรการ อสธจ : ประชุม 3ครั้ง/ปี มีมติด้าน อวล อย่างน้อย 2 เรื่อง และการติดตาม

3 การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมพื้นที่ Hot Zone
สิ่งที่พบ สิ่งที่ควรดำเนินการ สถานการณ์ มีโรงไฟฟ้าชีวมวล 3 แห่ง จำแนกการผลิตเป็น เพื่อจำหน่าย : อ.ทับสะแก กำลังผลิต 9.4 เมกะวัตต์ หยุดการผลิตเมื่อ พ.ศ เนื่องจากพื้นที่ไม่ส่งวัตถุดิบกะลามะพร้าวให้โรงงาน เพื่อใช้เองและจำหน่ายบางส่วน : อ.ปราณบุรี เชื้อเพลิงจากอ้อย กำลังผลิต 8 เมกะวัตต์ และ อ.บางสะพานน้อย เชื่อเพลิงจากปาล์ม กำลังผลิต 1.5 เมกะวัตต์ การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เป้าหมายดำเนินการที่รพ.ประจวบฯ และรพ.หัวหิน พบว่า ยังไม่เริ่มดำเนินการบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม จัดทำแผนงาน ตามแนวทางการจัดบริการ เวชกรรมสิ่งแวดล้อม ตามความเหมาะสมกับสภาพปัญหาของพื้นที่ ในประเด็นการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ การเฝ้าระวังสุขภาพด้านมลพิษสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในทุกระดับที่เกี่ยวข้อง การประเมินความเสี่ยงในพื้นที่ ควรเชื่อมโยงข้อมูลและพัฒนาความร่วมมือ กับผู้เกี่ยวข้องทุกระดับ ทางด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม แผนงาน/โครงการ ขาดความชัดเจน ยังไม่ได้กำหนดกิจกรรม ช่วงเวลาการดำเนินงาน งบประมาณ และผู้รับผิดชอบงาน ที่จะนำไปสู่เป้าหมายได้ ในกิจกรรมการประเมินความเสี่ยง การจัดทำสถานการณ์ การเฝ้าระวังสุขภาพ มีโรงไฟฟ้าชีวมวล 3 แห่ง โดย 2 แห่ง ตั้งอยู่ในหมู่ 4 ต. เขาน้อย อ.ปราณบุรีและหมู่ 3 ต.ห้วยยาง อ.ทับสะแก มีการดำเนินการผลิตเพื่อใช้เองและจำหน่ายบางส่วน กำลังผลิตกระแสไฟฟ้า 8, 1.5 เมกะวัตต์ตามลำดับ และ 1 แห่ง ตั้งอยู่ในหมู่ 8 ต.ทรายทอง อ.บางสะพานน้อย กำลังผลิตกระแสไฟฟ้า 9.4 เมกะวัตต์ โดยดำเนินการผลิตเพื่อจำหน่ายกระแสไฟฟ้าโดยเฉพาะ และปิดกิจการเมื่อปี พ.ศ.2555 การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม (เป้าหมายดำเนินการที่รพ.ประจวบฯ และรพ.หัวหิน) พบ มีระบบการดำเนินการอยู่แล้ว แต่ไม่ครอบคลุมทุกประเด็นการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม (5 องค์ประกอบ)

4 ลงพื้นที่ดูการจัดการขยะติดเชื้อ รพ กรุงเทพหัวหิน
วันที่ 27 มค 2559 เวลา – 15.00 *ผ่าน JCI : Joint Commetion International ---> HA *บริษัทเอกชนรับขนและกำจัด 15บาท/Kg *จุดเสี่ยงคือห้องรวบรวมบนตึก และใช้แม่บ้านรวบรวม *ความแตกต่างจากภาครัฐคือ ใช้การจ้างในงานที่ต้องควบคุมได้

5 ลงพื้นที่ รพสต บ้านป่าถล่ม ดูการจัดการขยะติดเชื้อ
วันที่ 27 มค 2559 เวลา – 17.00 *รวบรวมขยะติดเชื้อ รพสต แล้ว รพ กุยบุรีมารับทุกวันพุธ *ขยะชุมชนกำลังดำเนินการรวบรวมมายัง รพสต เดิมชาวบ้านเผาเอง *มีการพัฒนาจุดเก็บขยะติดเชื้อ(ดังภาพ) ถึงแม้ว่าจะยังไม่ได้มาตรฐาน

6 การตรวจเยี่ยมตลาดโต้รุ่งที่กำลังพัฒนา
วันที่ 27 มค 2559 เวลา – 22.00 8 จังหวัด Food Safety มิติสิ่งแวดล้อม มิติเศรษฐกิจ มิติสังคม ตรวจเยี่ยมตลาดโต้รุ่ง ครั้งที่1 ครั้งที่2 *การมอบป้ายรับรองถนนอาหาร *การติดป้ายรับรองจะทำอาหารให้ปลอดภัยต่อประชาชน *เสนอข่าวและพิธีมอบป้าย

7 เยี่ยม รพสต เฉลิมพระเกียรติฯ กม5 ดูการจัดการขยะติดเชื้อ
วันที่ 28 มค 2559 เวลา – 14.00 *รวบรวม รพ ประจวบฯ มารับขยะติดเชื้อ ตามการจัดการขยะติดเชื้อครบระบบใน Cup ที่รับผิดชอบและกำลังเตรียมลงสู่ชุมชน(ติดเตียง)

8 เยี่ยม รพ ทัพสะแก ระบบเตาเผามูลฝอยติดเชื้อได้มาตรฐาน
วันที่ 28 มค 2559 เวลา – 17.00 เตาเผาได้มาตรฐาน (2หัวเผา) ใช้วัสดุเก็บเข็มตามสิ่งที่มีในพื้นที่ เศษจากการเผากำจัดอย่างไร? *รพ มีระบบสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาลดีมาก(HA reaccredit ครั้งที่ 1) *มีการจัดการขยะติดเชื้อครบระบบใน Cup ที่รับผิดชอบและกำลังเตรียมลงสู่ชุมชน(ติดเตียง)


ดาวน์โหลด ppt สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดประจวบคีรีขันต์ คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google