ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
หลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
นางสาวดวงมณี นารีนุช ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดอุบลราชธานี
2
หลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
กระทำพร้อมๆ กับการเก็บรวบรวมข้อมูล กระทำพร้อมๆ กันไปตลอด ระยะเวลาของการเก็บรวบรวมข้อมูล อาศัยข้อมูลที่เป็นบริบทของปรากฏการณ์นั้นๆ เป็นแนวทางในการ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อความเข้าใจถึงความหมายและความสัมพันธ์ คำนึงถึง ทัศนะคนใน หมายถึง ผู้ที่ให้ข้อมูลที่อยู่ในสถานการณ์นั้นจริงๆ ทัศนะคนนอก หมายถึง มุมมองของผู้วิจัย
3
วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ มี 2 วิธีหลักๆ ดังนี้
วิธีที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสร้างข้อสรุป มี 3 ชนิด คือ วิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัย (Analytic Induction) ตีความสร้าง ข้อสรุปจากสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ที่มองเห็น การวิเคราะห์โดยการจำแนกชนิดข้อมูล (Typological Analysis) มี 2 วิธี คือ แบบใช้ทฤษฎี แยกชนิดในเหตุการณ์นั้นๆ โดยการยึดทฤษฎีเป็นกรอบ แบบไม่ใช้ทฤษฎี จำแนกข้อมูลที่จะวิเคราะห์ตามความเหมาะสมกับข้อมูล วิเคราะห์โดยการเปรียบเทียบข้อมูล (Constant Comparison) สังเกต รวบรวมข้อมูล หลายๆ อย่าง นำมาแยกตามชนิดและนำมา เปรียบเทียบกัน
4
ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสร้างข้อสรุป (ต่อ)
การถอดเทปข้อมูล การจัดเตรียมข้อมูล การให้รหัส (coding) จัดหมู่ข้อมูล (Category) ทำดัชนีข้อมูล ทำข้อสรุปชั่วคราว ตัดทอนข้อมูล ลองเขียนข้อสรุปแต่ละเรื่อง เสนอข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ ประมวลและสรุปข้อเท็จจริง พิสูจน์บทสรุป
5
วิธีที่ 2 การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
บรรยายเนื้อหาของข้อความหรือเอกสารโดยใช้วิธีการเชิงปริมาณอย่าง เป็นระบบ และเน้นความเป็นวัตถุวิสัย (Objectivity) อิงกรอบทฤษฎี การ บรรยายจะเน้นเนื้อหาตามที่ปรากฏไม่เน้นการตีความหรือการหาความหมายที่ ซ่อนไว้
6
ขั้นตอนการวิเคราะห์เนื้อหา (ต่อ)
ตั้งกฎเกณฑ์สำหรับคัดเลือกเอกสาร และหัวข้อ วางเค้าโครงของข้อมูล คำนึงถึงบริบท หรือสภาพแวดล้อมประกอบของข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์ วิเคราะห์เนื้อหา ตามเนื้อหาที่ปรากฏ (Manifest Content) ใน เอกสารมากกว่ากระทำกับเนื้อหาที่ซ่อนอยู่ (Latent Content)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.