งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
ความรอบรู้ ด้านสุขภาพ Health Literacy โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย

2 ประเด็นสำคัญ ที่มาของการขับเคลื่อนความรอบรู้ ด้านสุขภาพในปัจจุบัน
นิยามและกรอบแนวคิดที่กรมอนามัยใช้อ้างอิง ทิศทางและการนำลงสู่การปฏิบัติเพื่อยกระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกรมอนามัย

3 ที่มาของการขับเคลื่อนความรอบรู้ ด้านสุขภาพในปัจจุบัน

4 ที่มา WM สปท. สนช. สนย.สธ มอบหมาย 16 พ.ย.59 กรมอนามัย เป็นแกนหลัก
ในการดำเนินการ

5 ข้อเสนอ10 ข้อของสภาปฏิรูป โดยสังเขป
ยกระดับการปฏิรูปความรอบรู้ด้านต่างๆ ของประชาชนเป็นวาระแห่งชาติ (National Agenda) จัดตั้งคณะกรรมการสร้างเสริมความรอบรู้ และสื่อสารสุขภาพแห่งชาติ กำหนดให้มีการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน อยู่ในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี อยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนพัฒนาด้านสาธารณสุข จัดการให้สถาบันการศึกษาทุกระดับและสถานบริการสุขภาพ สถานที่ทำงานและโรงงานต่างๆ เป็นองค์กรแห่งความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literate Organization) พัฒนาชุมชน/ท้องถิ่นเป็นชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literate Communities)

6 ข้อเสนอ10 ข้อของสภาปฏิรูป โดยสังเขป (ต่อ)
สนับสนุนและขยายความครอบคลุมให้ประชาชนสามารถรู้หนังสือให้มากที่สุด (Literacy) สนับสนุนการศึกษาวิจัย (Health Literacy Survey) และจัดให้มี Center of Excellence ด้านสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพ จัดให้มีรายการโทรทัศน์ด้านสุขภาพเป็นประจำ และมีการบริหารจัดการเพื่อตอบโต้ข้อมูลที่ผิดพลาดและเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ทันท่วงที พัฒนากระบวนการผลิตสื่อด้านสุขภาพและช่องทางเผยแพร่ข้อมูล จัดให้มีการสำรวจในกลุ่มประชาชนกลุ่มต่างๆ หรือทั้งประเทศในเรื่องต่อไปนี้ ทุก 3 หรือ 5 ปี - ความรอบรู้ด้านสุขภาพ - พฤติกรรมสุขภาพ, พฤติกรรมเสี่ยง National Health Examination Survey

7 นิยามและกรอบแนวคิดที่กรมอนามัยใช้อ้างอิง

8 นิยาม "ความรอบรู้ด้านสุขภาพ คือ ความรอบรู้
และความสามารถด้านสุขภาพของบุคคล ในการที่จะกลั่นกรอง ประเมินและตัดสินใจ ที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เลือกใช้บริการ และผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างเหมาะสม" มติการประชุม WM สธ. 8 ก.พ. 2560

9 กรอบคิด Health Literacy ของกรมอนามัย
เข้าถึง 6 บอกต่อ 1 2 เข้าใจ 5 ** เปลี่ยนพฤติกรรม 3 โต้ตอบ ซักถาม แลกเปลี่ยน 4 By นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 25 ม.ค.60 ** ตัดสินใจ

10 Conceptual model of health literacy (ประเทศไทย)
เส้นทางชีวิต(Life Course Approach) บริบท - การใช้บริการและ ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ เข้าถึง เข้าใจ ความรู้ สมรรถนะ แรงจูงใจ ปรับใช้ บอกต่อ ประเมินตัดสินใจ การจัดบริการสุขภาพ การ ป้องกัน โรค ส่งเสริมสุขภาพ เลือกรับ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ - พฤติกรรมและ ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ - การมีส่วนร่วม และการมอบ พลังอำนาจประชาชน สังคมและปัจจัยแวดล้อม - ความเป็นธรรม และความยั่งยืน บุคคล ระดับบุคคล ระดับประชากร ผลลัพธ์ HALE

11 Lift Course Approach (LCA ) ประกอบด้วย 4 concept
Timeline : “today’s experiences and exposures influence tomorrow health” Timing  Health Trajectory เส้นทางหรือถนนชีวิตและสุขภาพมีช่วงที่สำคัญและไวต่อการรับผลกระทบต่อสุขภาพ 3. Environment รวมถึง community environment ทั้ง Biologic ,Physical and social มีผลมากต่อการสร้างเสริมสุขภาพ 4. Equity – ความเหลื่อมล้ำส่งผลต่อสุขภาพ มากกว่าพันธุกรรม และการตัดสินใจส่วนบุคคล

12

13 คุณสมบัติของพลเมืองไทย 4. 0 รอบรู้สุขภาพ Smart Thai People 4
คุณสมบัติของพลเมืองไทย 4.0 รอบรู้สุขภาพ Smart Thai People 4.0 Health Literacy 100% ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง Independent Health Literacy เรียนรู้ที่จะอยู่อย่างมีสุขภาพดี Learn to Live with Health Literacy and Healthy and Quality of life ใฝ่เรียนรู้ที่จะเข้าถึงข้อมูลความรู้สุขภาพ “เก่ง ดี มีวินัย ใฝ่เรียนรู้” Love to Learn 4 Health Literacy 100% 0% จิตสาธารณะ : Learn to Love ไม่สามารถตัดสินใจโดยตนเอง Dependent Health Literacy ปรับพฤติกรรมได้ผลแล้วบอกต่อ Interdependent Health Literacy By นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 25 ม.ค.60

14 ในแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในแผนฯ ฉบับที่ 12 แต่ประเทศไทยยังไม่มีข้อมูล
เป้าหมายความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในอีก 5 ปีข้างหน้า ประเทศไทย พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 25 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564 ในแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในแผนฯ ฉบับที่ 12 แต่ประเทศไทยยังไม่มีข้อมูล baseline data

15 ทิศทางและการนำลงสู่การปฏิบัติ
เพื่อยกระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกรมอนามัย

16 ความก้าวหน้า การดำเนินงาน
ความก้าวหน้าของการดำเนินการที่ผ่านมาพร้อมประเด็นที่ ตกผลึก HLที่เหมาะสมกับประเทศไทยและกระทรวงสาธารณสุข การทำงานเชื่อมโยงทั้งภายในและภายนอก วิเคราะห์ สังเคราะห์ประเด็นและพัฒนาเครื่องมือประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย / เครื่องมือ/หลักเกณฑ์การประเมินองค์กรความรอบรู้สุขภาพ (HLO) และแนวทางการพัฒนาสู่องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ ประชุมชี้แจงและจัด workshop กับผู้บริหารและหน่วยงาน 25 ม.ค.60 แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ ตามคำสั่ง 62/2560 ลงวันที่25 ม.ค.60 ประชุมทำความเข้าใจ HL และผลักเข้าแผนPP เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี เตรียมหัวข้อ HL บูรณาการเข้าไปในแผน PP Excellence ยกร่างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (strategic map) เพื่อสร้างความเข้าใจ สปท. สนช. สนย.สธ. WM HLH 150 รพ. วิจัย โดย สวรส. วิป 3 ฝ่าย 10 ข้อเสนอ วิป 2 ฝ่าย

17 โครงสร้างพื้นฐานขององค์กรแห่งความรอบรู้ด้านสุขภาพ
10 โครงสร้างพื้นฐานของ HLO ผู้นำร่วมขับเคลื่อน คำนึงถึงความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในทุกกระบวนการ เสริมสร้างศักยภาพเจ้าหน้าที่ให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ดึงผู้รับบริการเข้าร่วม ตอบสนองทุกข้อจำกัด และความจำเป็น ยกระดับการเข้าถึงที่ง่ายและสะดวก สื่อสารที่ตรงจุด ออกแบบสื่อและสิ่งพิมพ์ที่ง่ายต่อการนำไปใช้ประโยชน์ มุ่งเน้นไปที่ประชากรกลุ่มเสี่ยง อธิบายสิ่งที่ประชาชนจำเป็นต้องทำอย่างชัดเจน

18 health literacy เป็นฐานราก ของระบบสุขภาพ
กรอบแนวคิดและการดำเนินการ health literacy เป็นฐานราก ของระบบสุขภาพ

19

20 (Stakeholder & Networking) ภาคีเครือข่าย
ความรอบรู้ด้านสุขภาพของสังคมไทยในปี 2569 (Health Literate Thai Society in 2026 ) สังคมไทย เป็นสังคมรอบรู้ด้านสุขภาพ ภายในปี 2569 (Health Literate Thai Society in 2026 ) ประชาชน (People) ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพ อาสาสมัครรอบรู้ด้านสุขภาพ (Stakeholder & Networking) ภาคีเครือข่าย องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literate Organization) ส่วนราชการ (Government) ประชาสังคม (Civil Society) เอกชน (Private) ภาคส่วนสุขภาพ (Health Sectors) ไม่ใช่ภาคส่วนสุขภาพ (Non-Health Sectors) กลุ่ม/ชมรม/สมาคม มุ่งผลกำไร (Profit) ไม่มุ่งผลกำไร (Non-Profit) (Management) กระบวนการ ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนและองค์กร ความรู้และการสื่อสารสุขภาพเป็นวาระแห่งชาติ หน่วยรับผิดชอบ กำกับติดตาม สื่อที่มีประสิทธิภาพและตอบโต้สื่อที่ไม่ถูกต้อง การผลิตสินค้า และการบริการ (Products & Services ) การวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม (Research & Development & Innovation) (Learning & Development) พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) โครงสร้างหน่วยงานและศักยภาพบุคลากร (Organization Structure & Personal Competency) เริ่มจากกรมอนามัยและ กสธ. ทุนทางสังคม (Social Capital)

21 การขับเคลื่อนความรอบรู้ด้านสุขภาพตามข้อเสนอ วิป 3 ฝ่าย 2ฝ่าย
6.สนับสนุนและขยายความครอบคลุมให้ประชาชนสามารถรู้หนังสือให้มากที่สุด (Literacy) 4.จัดการให้สถาบันการศึกษา สถานบริการสุขภาพ สถานที่ทำงานและโรงงานต่าง ๆ เป็นองค์กรแห่งความรอบรู้ด้านสุขภาพ 5. พัฒนาชุมชน/ท้องถิ่น เป็นชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพ 1.ยกระดับการปฏิรูปความรอบรู้ด้านต่าง ๆ ของประชาชนเป็นวาระแห่งชาติ (National Agenda) 2.จัดตั้งคณะกรรมการสร้างเสริมความรอบรู้ และสื่อสารสุขภาพแห่งชาติ 3. กำหนดให้การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน อยู่ในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 7. สนับสนุนการศึกษาวิจัย และจัดให้มี Center of Excellence ด้านสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพ 8. จัดให้มีรายการโทรทัศน์ด้านสุขภาพเป็นประจำ และมีการบริหารจัดการเพื่อตอบโต้ข้อมูลที่ผิดพลาดและเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ทันท่วงที 9. พัฒนากระบวนการผลิตสื่อด้านสุขภาพและช่องทางเผยแพร่ข้อมูลด้านสุขภาพสู่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ 10. จัดให้มีการสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพในกลุ่มประชาชนกลุ่มต่างๆ ทั้งประเทศ ทุก 3 หรือ 5 ปี 11. พัฒนาการเข้าถึงบริการ ยาทั้งในส่วนของฤทธิ์ยาราคายาและวิธีใช้ยา โดยใช้เทคโนโลยี และ เภสัชกร Hotline 12. พัฒนาการเข้าถึงบริการและข้อมูลสุขภาพ โดยการ telemedicine และ on call 13.พัฒนาการใช้ M-Health และ E-health

22 สำนักงานโครงการขับเคลื่อน
จัดตั้ง สำนักงานโครงการขับเคลื่อน กรมอนามัย 4.0 เพื่อเพิ่มความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน (สขรส.)

23 ภายในปี 2560 ชุดองค์ความรู้ ทักษะ และพฤติกรรมจำเป็นพื้นฐานสำหรับประชากรไทยตามช่วงวัย แนวทางการยกระดับเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ เครื่องมือประเมินความรอบรู้ทางด้านสุขภาพของประชากรไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป ข้อมูลที่สำคัญและจำเป็นในการวางแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนความรอบรู้ด้านสุขภาพทั้งในระดับชุมชน จังหวัด ภูมิภาค และในภาพรวมของประเทศ

24 P I R A B Thailand Smart City Smart Thai Citizens
Investment เพิ่มงบประมาณ PP เป็น 1% GDP Regulation & Law กฎหมาย/ยุทธศาสตร์/ เรื่องยาก/ต่อเนื่อง P Partnership กลไกประชารัฐ I R A Advocacy ใช้ HL เป็นเครื่องมือ B Building Capacity พัฒนากำลังคน PP Health Literate organization: HLO Health Literate Community: HLC Health Literacy (HL) + Media Literacy โรงเรียน/โรงพยาบาล/โรงงาน/ ที่ทำงาน ฯลฯ Smart City Smart Thai Citizens

25


ดาวน์โหลด ppt โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google