ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
Exercise in chronic kidney disease patient กภ.ดุจดาว สกุลเวศย์ นักกายภาพบำบัด โรงพยาบาลยโสธร
2
เนื้อหา “โรคไตเรื้อรัง” คืออะไร? การออกกำลังกายกับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
ข้อห้าม ข้อระวังในการออกกำลังกายผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง รูปแบบการออกกำลังผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง สาธิตรูปแบบการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
3
“โรคไตเรื้อรัง” คืออะไร?
“การทำงานขอไตเสื่อมลงมากกว่า 3 เดือน” โดยมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1. ผู้ป่วยมีการตรวจพบสิ่งผิดปกติ 2 ครั้ง ใน 3 เดือน - ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ ≥ 1+ อย่างน้อยครั้ง ในเวลา 3 เดือน - ตรวจพบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะอย่างน้อย 2 ครั้ง ในเวลา 3 เดือน - ตรวจพบเกลือแร่ที่เกิดจากท่อไตผิดปกติ 2. ตรวจพบความผิดปกติทางรังสีวิทยา 3. ตรวจพบความผิดปกติทางโครงสร้าง หรือพยาธิสภาพจากผลการเจาะเนื้อเยื่อไต 4. ผู้ป่วยมีค่า eGFR ‹ 60 มล./1.73 ตารางเมตร ติดต่อกันนานเกิน 3 เดือน
4
Atiporn Ingsathit et al. 2009
สาเหตุ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรค SLE ตรวจพบนิ่วในไต โรคหัวใจ และหลอดเลือดหัวใจ อายุมากกว่า 60 ปี โรคติดเชื้อในกระแสเลือดที่อาจก่อให้เกิดโรคไต โรคติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำๆหลายๆครั้ง พันธุกรรม ผู้ที่ใช้กลุ่มยาแก้ปวดประเภท NSIAD เป็นประจำ โรคเก๊าท์ Atiporn Ingsathit et al. 2009
5
ระยะของโรค 1. eGFR 2. โปรตีนในปัสสาวะ
6
อาการ และอาการแสดง อาการเตือนของโรค ปัสสาวะบ่อย และมากในตอนกลางคืน
ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะขุ่น ปวดหลัง ปวดเอว อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย อาการของโรคไตเรื้อรัง บวมตามตัว หอบเหนื่อย ซีด เลือดออกง่าย ความดันโลหิตสูง ควบคุมยาก ซึม ชัก หมดสติ เสียชีวิตได้
8
การออกกำลังกายกับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง?
ทำไมต้องออกกำลังกาย? Exercise Anemia Malnutrition Osteodystophy ดัดแปลงจาก Shannon Lennon-Edwardsit
9
ประโยชน์ของการออกกำลังกาย
Neil A. Smart et al., 2013
10
ประโยชน์ของการออกกำลังกาย
เพิ่ม exercise capacity (VO2 max) คง หรือลดความดันโลหิต กรณีมีผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดไขมันในเลือด ลดความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน หรือความคุมน้ำตาลในผู้ป่วยเบาหวาน เพิ่มความแข็งแรง และทนทานของกล้ามเนื้อ ลดความเครียด และวิตกกังวน ลดอัตราการตาย จาก cardiac event เพิ่มคุณภาพชีวิต ส่งเสริมการเข้ากิจกรรมทางสังคม
11
ข้อห้ามในการออกกำลังกาย
สุขภาพเปลี่ยนไป เช่น ท้องเสีย น้ำตาลในเลือดเพิ่ม หอบหืด คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ (EKG abnormal) น้ำหนักตัวเพิ่มหลังวันฟอกไต มากกว่า 4 กิโลกรัม อยู่ในช่วงที่แพทย์กำลังปรับยา หัวใจเต้นผิดจังหวะ ใจสั่น หรือเจ็บหน้าอก มีไข้ ปวดกล้ามเนื้อ หรือปวดข้อ ภาวะน้ำท่วมปอด อากาศร้อนจัด American College of Cardiology Foundation, AHA
12
หยุดออกกำลังกาย เมื่อ?
หน้ามืด เดินเซ วิงเวียนคล้ายจะเป็นลม หายใจลำบาก หรือหายใจไม่อิ่ม เจ็บหน้า หรือใจสั่น เป็นตะคริว หรือกล้ามเนื้ออ่อนล้า ปวดข้อ หรือกล้ามเนื้อ หน้าซีด หรือปากคล้ำ
13
รูปแบบการออกกำลังกาย
เหมือนบุคคลทั่วไป โดยเลือกชนิด และกิจกรรมให้เหมาะสม Flexibility exercise Strengthening exercise Aerobic exercise
14
การออกกำลังกายแบบยืดหยุ่น Flexibility exercise
คือ การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของร่างกาย วิธีการ ยืดค้างเมื่อมีความรู้สึกตึงกล้ามเนื้อ ค้างไว้ ณ จุดตึง 15 – 20 วินาที ทำซ้ำ ท่าล่ะ ครั้ง ก่อน และหลังออกกำลังกาย
15
การออกกำลังกายแบบมีแรงต้านResisted exercise
คือ การออกกำลังกายแบบมีแรงต้านเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของร่างกาย วิธีการ ท่าละ ครั้ง อย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ * ระวังผู้ป่วยกลั้นหายใจ ขณะออกกำลังกาย
16
การออกกำลังกายแบบแอโรบิคAerobic exercise
คือ การออกกำลังกายกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ซ้ำๆ มีรูปแบบ ต่อเนื่อง มากกว่า 20 นาที
17
การควบคุมระดับความหนักในการออกกำลังกาย
Rate of Perceived Exertion; RPE ระดับความเหนื่อยปานกลาง Talk test พูดคำต่อเนื่อง 7 คำ เช่น “ฉันกำลังสบายดีอยู่”
18
สาธิตโปรแกรมออกกำลังกาย
Flexibility exercise 1. เอื้อมแขนไปด้านหน้า 2. อ้าศอกไปด้านหลัง หุบศอกมาด้านหน้า
19
Flexibility exercise 3. กอดเข่าชิดอก พยายามให้หลังตรง 4. เหยียดขาที่จะยืดไว้ด้านหลัง โน้มตัวงอเข่าอีกข้างไปทางด้านหน้า
20
Resisted exercise 1. งอ - เหยียดศอก 2. กาง – หุบแขน
21
Resisted exercise 3. ยกแขน ขึ้น - ลง 4. งอสะโพก ขึ้น - ลง
22
Resisted exercise 5. เหยียดสะโพกไปด้านหลัง 6. ย่อเหยียดเขา
23
Resisted exercise 7. เขย่งเท้า ขึ้น - ลง
24
เอกสารอ้างอิง ผศ.ดร.พญ.อติพร อิงค์สาธิต, นพ.ธีรยุทธ เจียมจริยาภรณ์.คู่มือการจัดการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น. กรุงเทพฯ: 2555. Atiporn Ingsathi et al. Prevalence and risk factors of chronic kidney disease in the Thai adult population: Thai SEEK study. Nephrol Dial Transplant (2009) 1 of 9. Neil A. Smart, Andrew D.Willianms et al. Exercise & Sports Science Australia (ESSA) position statement on exercise and chronic kidney disease. Journal of Science and Medicine in Sport 16 (2013) 406–411. Patricia Painter.ACSM’s resource manual for guildelines for exercise testing and prescription.Exercise in patient with end – stage renal disease 34: , 2006
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.