ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์พืชไร่ตระกูลถั่ว
นางสาวนิภาภรณ์ พรรณรา นักวิชาการเกษตรชำนาญการ ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชพิษณุโลก กรมวิชาการเกษตร 1
2
อาคารปฏิบัติการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์พืช
รองรับการเข้าสู่ AEC
3
พรบ.พันธุ์พืช พ.ศ. 2518 - Association of Official Seed Analysis (AOSA)
เมล็ดพันธุ์พืชควบคุม จำนวน 33 รายการ 45 ชนิดพืช - พืชไร่ จำนวน 10 ชนิด - พืชสวน จำนวน 35 ชนิด - ความบริสุทธิ์และความงอก - International Rules for Seed Testing (ISTA) - Association of Official Seed Analysis (AOSA) เดิมมี 37 ชนิด พืชไร่ 9 ชนิด พืชสวน 28 ชนิด ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแก้ไขล่าสุด 14 พฤษภาคม 2556
4
ตารางที่ 1 กำหนดมาตรฐานขั้นต่ำของคุณภาพเมล็ดพันธุ์พืชไร่ตระกูลถั่ว
ชนิดพืช พันธุ์จำหน่าย(%) ความชื้น ความบริสุทธิ์ ความงอก ถั่วเหลือง 12 97 65 ถั่วเขียว 98 75 ถั่วลิสง 9 96 70
5
ขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์
สุ่มตัวอย่าง/รับตัวอย่าง ลงทะเบียน ตรวจสอบคุณภาพ แบ่งตัวอย่าง เก็บตรวจสอบย้อนกลับ ตรวจสอบความชื้น ตรวจสอบความบริสุทธิ์ ตรวจสอบความงอก ตรวจสอบความแข็งแรง รายงานผล ตรวจสอบความมีชีวิต ตรวจสอบโรคติดมากับเมล็ด
6
ขั้นตอนในการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์
1.การรับตัวอย่างและลงทะเบียนรับ ตัวอย่าง
7
จำนวนตัวอย่างที่รับตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์
- ปี 2554 จำนวน 1,895 ตัวอย่าง - ปี 2555 จำนวน 2,310 ตัวอย่าง - ปี 2556 จำนวน 1,980 ตัวอย่าง - ปี 2557 จำนวน 3,226 ตัวอย่าง - ปี 2558 จำนวน 2,040 ตัวอย่าง (ต.ค. 57 – มี.ค.58) รวม 11,451 ตัวอย่าง
8
2. การแบ่งตัวอย่าง Seed divider
9
3. การตรวจสอบความชื้นของเมล็ดพันธุ์
10
ระยะเวลา 1ชั่วโมง± 3 นาที
- ถั่วเขียว บดหยาบ อบที่อุณหภูมิ 130๐C ระยะเวลา 1ชั่วโมง± 3 นาที - ถั่วเหลือง บดหยาบ อบที่อุณหภูมิ 103๐C ระยะเวลา 17± 1ชั่วโมง - ถั่วลิสง ตัดเป็นชิ้นเล็กๆขนาดไม่เกิน 7 มิลลิเมตร อบที่อุณหภูมิ 103 ๐C ระยะเวลา 17± 1ชั่วโมง
11
การบดละเอียด หมายถึง ขนาดของส่วนที่บดอย่างน้อย 50 เปอร์เซ็นต์ ลอดผ่านตะแกรงขนาด 0.5 มิลลิเมตรและเหลืออยู่บนตะแกรงขนาด 1 มิลลิเมตร ไม่เกิน 10 เปอร์เซ็นต์ การบดหยาบ หมายถึง ขนาดของส่วนที่บดอย่างน้อย 50 เปอร์เซ็นต์ ลอดผ่านตะแกรงขนาด 4 มิลลิเมตร และขนาดของส่วนที่บดไม่เกิน 55% ลอดผ่านตะแกรงขนาด 2 มิลลิเมตร การบดละเอียด ตะแกรง 0.5 มม อยู่บน ตะแกรง 1 มม. อยู่ล่าง การบดหยาบ 4 มม.อยู่บน 2 มม. อยู่ล่าง หมายเหตุ: ระยะเวลาในการบดต้องไม่เกิน 2 นาที/ตัวอย่าง
12
การคำนวณความชื้นของเมล็ดพันธุ์ ความชื้นเมล็ดพันธุ์ (%) = M2 – M3 x 100
รายงานค่าความชื้นของเมล็ดพันธุ์ที่ทศนิยม 1 ตำแหน่ง ค่าความแตกต่าง(Tolerance) จากการตรวจสอบ 2 ซ้ำไม่ควรเกิน 0.2%
13
4. การตรวจสอบความบริสุทธิ์ของเมล็ดพันธุ์
องค์ประกอบมี 3 ส่วนดังนี้ - เมล็ดพันธุ์บริสุทธิ์ (pure seed) - เมล็ดพืชชนิดอื่น (other seed) - สิ่งเจือปน (inert matter)
14
1. เมล็ดบริสุทธิ์ (Pure Seed) หมายถึง เมล็ดพันธุ์ที่สมบูรณ์ รวมถึงเมล็ดเหี่ยวย่น เมล็ดเล็ก เมล็ดเป็นโรค เมล็ดลีบ เมล็ดที่งอกแล้ว เมล็ดที่แตกหักเสียหายไม่เกิน 50% ยกเว้นเมล็ดที่ถูกแมลงหรือเชื้อโรคเข้าทำลายจนเปลี่ยนรูปไป 2. เมล็ดพืชอื่น (Other Seed) หมายถึง เมล็ดพืชชนิดอื่นรวมถึง เมล็ดวัชพืช 3 สิ่งเจือปน (Inert Matter) หมายถึง ชิ้นส่วนต่างๆที่ไม่ใช่เมล็ดพันธุ์ เช่น เศษพืช ฟาง เปลือกหุ้มเมล็ด ดินและเศษหิน หรือชิ้นส่วนของเมล็ดที่เล็กกว่าครึ่งหนึ่งของเมล็ดเดิม
15
วิธีการคำนวณ เมล็ดบริสุทธิ์ (%) = น้ำหนักเมล็ดบริสุทธิ์ x 100
น้ำหนักรวมหลังคัดแยก เมล็ดพืชอื่น (%) = น้ำหนักเมล็ดพืชอื่น x 100 สิ่งเจือปน (%) = น้ำหนักสิ่งเจือปน x 100
18
วิธีการเพาะเมล็ดพันธุ์
5. การตรวจสอบความงอก วิธีการเพาะเมล็ดพันธุ์ 1. การเพาะด้วยกระดาษมี 3 วิธี 1.1 การเพาะเมล็ดบนกระดาษ (Top of Paper) 1.2 การเพาะเมล็ดระหว่างกระดาษ (Between Paper) 1.3 การเพาะเมล็ดเป็นกระดาษพลีท (Pleated Paper) 2. การเพาะด้วยทราย
19
การเพาะเมล็ดบนกระดาษ (TP)
20
การเพาะเมล็ดระหว่างกระดาษ (BP)
21
การเพาะเมล็ดเป็นกระดาษพลีท (PP)
22
การเพาะเมล็ดด้วยทราย (S)
ขนาดของทราย: ทรายอย่างน้อย 90% ต้องผ่านขนาดรูตะแกรง 2 มม. การอบทราย : อบที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส ระยะเวลา 6 ชั่วโมง การเตรียมทราย: ทราย 30 kg ใช้น้ำ 4 ลิตร(เพาะได้ 3 ตัวอย่าง) ถั่วเขียว 1 ตัวอย่าง ใช้น้ำ 150 ml การเพาะเมล็ดด้วยทราย (S)
23
การเพาะเมล็ดด้วยทราย (S)
24
เครื่องร่อนทราย
25
ห้องเพาะเมล็ด
26
26
27
การประเมินผลต้นอ่อนมีการตรวจนับ 5 ประเภท
1. ต้นอ่อนปกติ ( Normal Seedling) 2. ต้นอ่อนผิดปกติ ( Abnormal Seedling) 3. เมล็ดแข็ง (Hard Seed) 4. เมล็ดสดไม่งอก (Fresh Ungerminated Seed) 5. เมล็ดตาย (Dead Seed)
28
การประเมินผลต้นอ่อน ตรวจนับ 2 ครั้ง
การนับครั้งแรก (First Count) การนับครั้งสุดท้าย (Final Count)
29
การประเมินความงอก
31
6. การตรวจสอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์โดยวิธีการเร่งอายุเมล็ดพันธุ์(AA-test)
ถั่วเหลือง อุณหภูมิ 41 องศา เซลเซียส 72 ชั่วโมง
32
การวัดค่าการนำไฟฟ้า
33
การตรวจสอบความมีชีวิต ของเมล็ดพันธุ์ (TZ test)
34
การประเมินผลวิธีตรวจสอบความมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์ (TZ test)
35
ห้องเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์
36
ขั้นตอนการขอจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ควบคุมเพื่อการค้า
จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ขอใบอนุญาตรวบรวมเมล็ดพันธุ์ควบคุมเพื่อการค้า (พ.พ.1) กลุ่มควบคุมพันธุ์พืช: , 3. ขอใบ พ.พ. (เลขทะเบียนประจำพันธุ์ทางการค้า)
37
THANK YOU
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.