งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารการเงิน และการจัดทำบัญชีสำหรับผู้รับทุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารการเงิน และการจัดทำบัญชีสำหรับผู้รับทุน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารการเงิน และการจัดทำบัญชีสำหรับผู้รับทุน
การบริหารการเงิน และการจัดทำบัญชีสำหรับผู้รับทุน อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ (สอส)

2 การบริหารการเงิน หลักการ 1 2 3
การรับ-จ่าย เงินมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ การใช้จ่าย เงินสนับสนุนเป็นไปตามวัตถุประสงค์ เอกสารหลักฐานการจ่ายเงินมีความสมบูรณ์ ครบถ้วน ถูกต้อง หลักการ

3 การบริหารการเงิน 1. การเปิดบัญชีโครงการ 2. การรับเงิน
3. การเก็บรักษาเงิน 4. การเบิกจ่ายเงิน 5. การยืมเงินทดรองจ่าย 6. เอกสารหลักฐานการจ่ายเงินที่ สมบูรณ์ ครบถ้วน ถูกต้อง 7. การจัดทำบัญชี 8. การจัดเก็บเอกสารหลักฐานการเงิน

4 การเปิดบัญชี งดใช้ ATM การเปิดบัญชีเงินฝากธนาคาร
เปิดบัญชีประเภทออมทรัพย์ ธนาคาร กรุงไทย เท่านั้น! เปิดในนามโครงการ “ศรร. ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส (โรงเรียน….... จังหวัด……...)” มีผู้ลงนามถอนเงินหรือสั่งจ่าย 2 ใน 3 คน โดยให้ผู้รับผิดชอบโครงการ เป็นผู้ลงนามหลัก ผู้รับผิดชอบโครงการควรดูแลรักษาสมุดคู่ฝากและตรวจสอบยอดคงเหลือ ให้ถูกต้องโดยสม่ำเสมอ

5 การอนุมัติเบิกจ่ายเงิน
การเบิกจ่ายเงิน การอนุมัติเบิกจ่ายเงิน 1.ต้องได้รับอนุมัติจากผู้รับผิดชอบโครงการ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย เป็นลายลักษณ์อักษรทุกครั้ง 2. เมื่อจ่ายเงินแล้วควรประทับตรา “จ่ายแล้ว” หรือ “PAID” บนเอกสารการจ่ายเงินทุกฉบับเพื่อป้องกันการเบิกจ่ายซ้ำ ( Signature ) X

6 ตัวอย่างการประทับ “จ่ายแล้ว”

7 การอนุมัติเงิน การยืมเงินทดรองจ่าย
เงินทดรองจ่าย หมายถึง เงินที่ผู้ปฏิบัติงานเบิกล่วงหน้าเพื่อใช้สำรองจ่าย ในกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการ โดยเป็นการประมาณค่าใช้จ่ายล่วงหน้า ซึ่งยังไม่สามารถกำหนดตัวเลขค่าใช้จ่าย ที่แน่ชัดได้

8 ตัวอย่างการอนุมัติยืมเงินทดรองจ่าย
ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสโรงเรียน...... ชื่อกิจกรรม วปส.การใช้เงิน วันที่ สถานที่ ระบุรายละเอียด เป็นรายการ และ ตัวคูณ

9 ตัวอย่างการคืนเงินทดรองจ่าย/สรุปค่าใช้จ่าย
/เบิกเพิ่ม

10 เอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน
หลักฐานการเงิน เอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน 3. ความถูกต้อง เบิกตามที่จ่ายจริง ไม่เกินกรอบอัตราค่าใช้จ่ายที่ สสส. กำหนด เป็นการจ่ายในกิจกรรมของโครงการเท่านั้น 1. ความสมบูรณ์ หมายถึง มีความสมบูรณ์เกี่ยวกับ ชื่อและที่อยู่ของผู้ขาย ผู้ซื้อ วันที่ รายการสินค้า จำนวน ราคา และ ลายมือชื่อ - ผู้อนุมัติให้จ่ายได้ (จากผู้รับผิดชอบโครงการ) - ผู้รับเงิน - ผู้จ่ายเงิน 2. ความครบถ้วน หมายถึง มีเอกสารการจ่ายเงินครบถ้วนตามที่จ่ายเงิน

11 รูปแบบของเอกสารการจ่ายเงิน
บิลเงินสด ใบเสร็จรับเงิน ใบสำคัญรับเงิน ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง

12 บิลเงินสด บิลเงินสด หมายถึง เอกสารหลักฐานการจ่ายเงินที่ได้รับจากผู้ขาย/ผู้ให้บริการ ชื่อ/ที่อยู่ของผู้ขาย – ชื่อ/ที่อยู่ของผู้ซื้อ วันที่ซื้อ รายละเอียดรายการสินค้า จำนวน ราคา ลายมือชื่อผู้รับเงิน ตัวอย่าง

13 การเขียนบิลเงิน บิลเงินสด ควรระบุชื่อ-ที่อยู่ของผู้ขาย
หากไม่มี ให้แสดงหลักฐานอื่น เช่น นามบัตรของผู้ขาย นาม : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ที่อยู่ : อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ เลขที่ 99/8 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 (โครงการศรร.ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โรงเรียน จังหวัด ) เลขประจำตัวผู้เสียภาษี : รายละเอียดรายการสินค้า จำนวน ราคา ลายมือชื่อผู้รับเงิน

14 ตัวอย่างการเงิน

15 ใบเสร็จรับเงิน ตัวอย่าง
2) ใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษี หมายถึง เอกสารหลักฐานการจ่ายเงินที่ได้รับจากผู้ขาย/ผู้ให้บริการ ชื่อ/ที่อยู่ของผู้ขาย ชื่อ/ที่อยู่ของผู้ซื้อ วันที่ซื้อ รายละเอียดรายการสินค้า จำนวนคน X ราคาต่อหน่วย ลายมือชื่อผู้รับเงิน ตัวอย่าง นาม : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ที่อยู่ : อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ เลขที่ 99/8 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 (โครงการศรร.ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โรงเรียน จังหวัด ) เลขประจำตัวผู้เสียภาษี :

16 ใบสำคัญรับเงินแทนใบเสร็จ
ข้อตกลงเลขที่ 3) ใบสำคัญรับเงิน หมายถึง หลักฐานแสดงการจ่ายเงินที่ไม่สามารถขอใบเส็จรับเงินหรือบิลเงินสดจากผู้ขาย หรือให้บริการ สำหรับกิจกรรมในโครงการได้ ชื่อ/ที่อยู่ของผู้ขาย (พร้อมเลขที่บัตรประชาชน) วันที่ / รายละเอียดรายการจ่าย ลายมือชื่อผู้รับเงิน และลงมือลายชื่อผู้จ่ายเงิน ตัวอย่าง Tip : เพื่อให้การจ่ายเงิน โดยใช้เอกสารใบสำคัญรับเงินมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ควรมีเอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงิน เช่น สำเนาบัตรประชาชน รายงานการประชุม ใบลงทะเบียนรายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม หรือ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

17 หลักฐานสำคัญ กรณีการจัดประชุม
และมีการเลี้ยงอาหารว่าง/อาหารกลางวัน/อาหารเย็น ให้ทางโรงเรียนแนบ 1) บันทึกอนุมัติจากผู้รับผิดชอบโครงการ -ให้ดำเนินงานและค่าใช้จ่าย โดยระบุข้อกิจกรรมตรงกับที่เขียนไว้ในโครงการตามข้อตกลงกับ สสส. มีประมาณการค่าใช้จ่าย จำนวนคน X ราคาต่อหัว ต่อมื้อ วัน เวลา และ สถานที่ที่จัด 2) ใบลงทะเบียน รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม -ที่ครบถ้วนสอดคล้องกับค่าใช้จ่าย 3) ใบบิลเงินสด / ใบเสร็จรับเงิน / ใบสำคัญรับเงิน - ระบุรายการ จำนวนคน และราคาต่อหน่วย กรณี ผู้รับเงินเป็นบุคคล ให้ถ่ายบัตรประชาชน และเซ็นต์รับรอง แนบทุกครั้ง Tip : - ค่าใช้จ่ายทุกประเภท ขอให้เขียนว่า อยู่ภายใต้กิจกรรมข้อใดที่ ได้ทำสัญญารับทุน - เงินสนับสนุนจาก สสส. ไม่สามารถนำไปจัดซื้อครุภัณฑ์ได้

18 ตัวอย่างการใช้ใบสำคัญ
1) กรณีจ่ายค่าซื้อสินค้าหรือบริการโดยผู้รับเงินไม่สามารถออกบิลเงินสดหรือใบเสร็จรับเงินได้ ให้ใช้ใบสำคัญรับเงิน พร้อมแนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน วันที่ ได้รับเงินจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส) โครงการศรร.ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โรงเรียน จังหวัด ค่าอาหารกลางวันเลี้ยงผู้เข้าประชุม 100 คนๆ ละ 50 บาท 5000.- ตัวอย่าง จ่ายแล้ว ห้าพันบาทถ้วน 5000.- แนบสำเนาบัตรประชาชนของชื่อผู้รับเงิน เซ็นชื่อ เซ็นชื่อ

19 ตัวอย่าง การจ่ายค่าตอบแทน
2) กรณีจ่ายค่าตอบแทนต่าง ๆ เช่น ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม ค่าวิทยากร ให้ใช้สำคัญรับเงิน โดยระบุเลขประจำตัวประชาชน แต่ไม่ต้องแนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ได้รับเงินจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส) โครงการศรร.ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โรงเรียน จังหวัด ตัวอย่าง อัตราค่าตอบแทนวิทยากรให้เบิกในอัตราที่กำหนดตามเอกสารแนบ

20 การเบิกค่าพาหนะ/ที่พัก
3) กรณีจ่ายเงินที่ไม่สามารถเรียกหลักฐานการรับเงินใด ๆ ได้ เช่น การจ่ายค่า Taxi / ค่าถ่ายเอกสาร (บางกรณี) ให้เจ้าหน้าที่โครงการผู้จ่ายเงิน จัดทำใบสำคัญรับเงินขึ้น โดยระบุเลขประจำตัวประชาชนพร้อมลงชื่อในช่องผู้รับและ แนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนที่ลงนามรับรองสำเนาถูกต้อง ได้รับเงินจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส) โครงการศรร.ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โรงเรียน จังหวัด

21 หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินในโครงการศรร.ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสของโรงเรียน
รายการ อัตราที่กำหนด -ค่าตอบแทนในการประชุม (หากเบิกค่าตอบแทนจะเบิกค่าพาหนะไม่ได้) คนละ บาท โดยพิจารณาตามปริมาณงาน ความเร่งด่วน และความยากง่ายของงานที่เชิญมาประชุม ในเวลา 2-3 ชั่วโมงเป็นอย่างน้อย -ค่าตอบแทนวิทยากร บาท ต่อครึ่งวัน หรือ 1,000 บาท ต่อวัน (จ่ายต่อคน) 1,500 บาท ต่อ ครึ่งวัน หรือ 3,000 บาท ต่อวัน (กรณีจ่ายวิทยากรเหมารวมกลุ่ม) สำหรับวิทยากรที่อยู่พื้นที่เดียวกับสถานที่จัดประชุม จะจ่ายเฉพาะค่าตอบแทนเท่านั้น -ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานของบุคคลภายนอก ผู้ปฏิบัติงานอื่นที่ไม่ใช่งานวิชาการ เหมาจ่ายวันละไม่เกิน 500 บาท -ค่าที่พัก กรณีไปประชุมต่างจังหวัด เบิกตามจริง แต่ไม่เกินคืนละ 800 บาท (แนบใบเสร็จรับเงิน และ Folio) (เบิกได้จากแหล่งเงินเดียว จะเอามาเบิกซ้ำซ้อนไม่ได้) กรณีผู้เชิญจัดที่พักให้แล้ว จะมาเบิกค่าที่พักจากโครงการของโรงเรียนอีกไม่ได้ -ค่าพาหนะ กรณีเดินทางไปประชุมต่างจังหวัด ให้เบิกตามจ่ายจริง หากเดินทางโดยเครื่องบินต้องได้รับอนุมัติจากผู้รับผิดชอบโครงการก่อน (สายการบินชั้นประหยัด) แนบหลักฐานค่าตั๋วเครื่องบินที่ออกให้โดยสายการบิน หรือเอเจนซี่ เท่านั้นและแนบ Boarding pass การเบิกค่าพาหนะส่วนตัว เบิกค่าน้ำมันได้ โดยให้คำนวณจากระยะทาง รวมค่าเสื่อม เฉพาะในพื้นที่ปริมณฑล หรือ จังหวัดที่ใกล้เคียงเท่านั้น อัตราไม่เกิน กม. ละ 4 บาท ทั้งนี้ จะต้องไม่เกินอัตราค่าตั๋วเครื่องบินชั้นประหยัด โดยใช้ใบสำคัญรับเงินเป็นหลักฐานซึ่งต้องได้รับอนุมัติจากผู้จัดการประชุม หรือ ผู้รับผิดชอบโครงการที่เป็นผู้จ่ายเงิน

22 การจัดทำบัญชีการเงิน
วัตถุประสงค์และประโยชน์ของการจัดทำบัญชี 1. เพื่อให้ผู้รับผิดชอบโครงการมีข้อมูลสำหรับใช้ในการบริหารโครงการ ข้อมูลสถานะการเงินของโครงการว่ามีเงินสดหรือเงินฝากธนาคารเหลืออยู่เท่าไร ใช้ไปในกิจกรรมใด เป็นเงินเท่าไร แต่ละกิจกรรมมีงบประมาณคงเหลือเท่าไร 2. เป็นแหล่งข้อมูลสำหรับนำไปจัดทำรายงานต่างๆ เช่น รายงานเงินงวด (ง.1 – ง.3) รายงานบันทึกข้อมูลความก้าวหน้าของโครงการ (ป.1)

23 การจัดทำบัญชี (ต่อ) 1. ผู้จัดทำบัญชีบันทึกรายการใน สมุดเงินสด เงินฝากธนาคาร และบัญชีแยกประเภท (บน. 1) 2. รายการที่บันทึกจะถูกสรุปไปยัง (เฉพาะโครงการใหญ่ – โรงเรียนไม่ต้องทำ) -สรุปรายจ่ายตามรายกิจกรรม” (บน.2) -สรุปการใช้จ่ายเงินงบประมาณแยกตามกิจกรรม” (บน. 3) -กระทบยอดเงินสดเงินฝากธนาคาร (บน. 4) -รายงานการเงิน (ง.1 – ง.3)

24 สมุดรายงาน รับ-จ่าย ของโรงเรียน
สมุดรายวันเงิน รับ - จ่าย ข้อตกลงที่ โครงการ รหัสโครงการ วันที่ เลขที่เอกสาร คำอธิบายรายการ ใช้จ่ายในกิจกรรมที่ เงินฝากธนาคาร เงินสดในมือ หมายเหตุ ฝาก ถอน คงเหลือ รับ จ่าย -

25 สมุดรายงาน รับ-จ่าย ของโรงเรียน สมุดรายวันเงิน รับ - จ่าย
ข้อตกลงที่ โครงการ รหัสโครงการ วันที่ เลขที่เอกสาร คำอธิบายรายการ ใช้จ่ายในกิจกรรมที่ เงินฝากธนาคาร เงินสดในมือ หมายเหตุ ฝาก ถอน คงเหลือ รับ จ่าย - โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสโรงเรียน จังหวัด ศรร

26 ตัวอย่าง รายงานการเงิน งวดที่.......(ปิดโครงการ)
ข้อตกลงเลขที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาดำเนินโครงการ ตั้งแต่ วันที่ ถึงวันที่ (1) รายรับ- รายจ่าย และเงินเหลือประจำงวด :- รายการ สำหรับงวดที่ 1 สำหรับงวดที่ 2 รวมทั้งสิ้น หมายเหตุ ตั้งแต่… ….. ตั้งแต่………….. ถึง… ถึง……………… ยอดเงินคงเหลืองวดก่อนยกมา - รายรับ :- รับเงินงวดจาก สสส. รับดอกเบี้ยจากธนาคาร รับอื่นๆ (ไม่รวมเงินเปิดบัญชี) รวมรายรับ รายจ่าย :- รายจ่ายจากกิจกรรม ต่างๆ ดังรายละเอียด (3) รวมรายจ่าย เงินคงเหลือ (2) เงินคงเหลือ ประกอบด้วย :- เงินสดในมือ ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร เงินให้ยืมไปจัดกิจกรรม หัก เงินเปิดบัญชีโครงการ รายจ่ายที่โครงการสำรองจ่าย รวมเงินคงเหลือ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสโรงเรียน จังหวัด ศรร

27 (ต่อ) ตัวอย่าง รายงานการเงิน งวดที่.......(ปิดโครงการ)
(3) รายละเอียดงบประมาณที่ได้รับ รายจ่าย และงบประมาณคงเหลือแยกตามกิจกรรม :- กิจกรรมหลัก งบประมาณตามข้อตกลง รายจ่าย รวมรายจ่าย งบประมาณคงเหลือ งวดที่ 1 งวดที่ 2 กิจกรรมที่ 1 - กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมที่ 8 รวม * หมายเหตุ : ให้กรอกข้อมูลเฉพาะ ช่องสีเหลืองเท่านั้น (4) การขอเบิกเงินสนับสนุนโครงการงวดต่อไป คือ งวดที่ 2 (ปิดโครงการ) จำนวน 9, บาท ( ตัวอักษร) เก้าพันห้าร้อยสี่สิบสี่บาทถ้วน ข้าพเจ้าขอรับรองว่า เงินสนับสนุนโครงการจาก สสส. ได้นำมาใช้อย่างถูกต้อง ตรงตามกิจกรรมที่ระบุไว้ในข้อตกลง ดำเนินงานทุกประการ และขอรับรองรายงานการเงินข้างต้น ลงชื่อ ผู้รับผิดชอบโครงการ ลงชื่อ เจ้าหน้าที่การเงิน ( ) ( ) วันที่ /…………/…………..

28 การเก็บเอกสารทางการเงินการบัญชี
ควรเก็บไว้ให้เป็นระเบียบเรียบร้อยเพื่อ ป ประโยชน์ในการค้นหาและตรวจสอบ เก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี

29 การจัดทำเลขที่โครงการย่อย
การบริหารการเงิน การจัดทำเลขที่โครงการย่อย ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ภาคเหนือ ขนาดกลาง ศรร ลำดับที่ 21 รุ่นที่ 1 สังกัด อปท. หมายเหตุ : ข้อตกลงเลขที่ (ใช้เหมือนกันทุกโรงเรียน) สำหรับ รหัสโครงการย่อย ระบุแต่ละโรงเรียน ดังนี้ ศรร. : หมายถึง ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส เลข 4 ตัวแรก : หลักที่ 1 หมายถึง รุ่น (1 = รุ่นที่ 1 , 2 = รุ่นที่ 2) หลักที่ 2 หมายถึง ภาค (1 = เหนือ, 2 = กลาง, 3 = อีสาน, 4 = ใต้) หลักที่ 3 หมายถึง สังกัด (1 = สพฐ., 2 = อปท., 3 =กทม., 4 = สช.) หลักที่ 4 หมายถึง ขนาด (1 = เล็ก, 2 = กลาง, 3 = ใหญ่)

30 รายชื่อโครงการย่อย ศรร
รายชื่อโครงการย่อย ศรร.โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส รุ่นที่ 1 (ภาคเหนือ) ข้อตกลงเลขที่ (ตรงกับโครงการใหญ่) ลำดับ รหัสโครงการย่อย ศูนย์ อนามัย อบรม TSL รุ่น ภาค จังหวัด ชื่อโรงเรียน สังกัด 1 ศรร เหนือ เชียงใหม่ โรงเรียนบ้านกาดฮาว สพฐ 2 ศรร โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ 3 ศรร โรงเรียนบ้านม่วงชุม 4 ศรร โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน 5 ศรร โรงเรียนบ้านสะลวงนอก 6 ศรร โรงเรียนชุมชนเทศบาลวัดศรีดอนไชย อปท 7 ศรร เชียงราย โรงเรียนเทศบาล 8 บ้านใหม่ 8 ศรร โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์พัฒนาคาร) 9 ศรร โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง 10 ศรร โรงเรียนบ้านทุ่งหลวง 11 ศรร แพร่ โรงเรียนวัดต้นไคร้ 12 ศรร แม่ฮ่องสอน โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ 13 ศรร น่าน โรงเรียนดรุณวิทยา เทศบาลบ้านสวนตาล 14 ศรร โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว 15 ศรร ลำปาง โรงเรียนสันโป่งวิทยา 16 ศรร โรงเรียนบ้านไหล่หิน 17 ศรร โรงเรียนทองทิพย์วิทยา 18 ศรร โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ 19 ศรร เพชรบูรณ์ โรงเรียนบ้านห้วยระหงส์ 20 ศรร ตาก โรงเรียนบ้านวังประจบ 21 ศรร โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย 22 ศรร โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 23 ศรร โรงเรียนบ้านแม่ระเมิง 24 ศรร พิษณุโลก โรงเรียนบ้านสะเดา 25 ศรร สุโขทัย โรงเรียนบ้านผาเวียง 26 ศรร อุตรดิตถ์ โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา 27 ศรร โรงเรียนอนุบาลไทยรัฐวิทยา 5 (วัดตลิ่งต่ำ) 28 ศรร กำแพงเพชร โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา 29 ศรร นครสวรรค์ โรงเรียนวัดนากลาง 30 ศรร อุทัยธานี โรงเรียนเทศบาลวัดธรรมโศภิต

31 งบประมาณการดำเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้จ้นแบบเด็กไทยแก้ม รุ่นที่ 1
การสนับสนุนงบประมาณตามขนาดโรงเรียน งบประมาณพิจารณา ภายในวงเงินไม่เกิน เงินงวดที่ 1 (40%) (พฤษภาคม 2559) เงินงวดที่ 2 (55%) (กันยายน 2559) เงินงวดที่ 3 (5%) (กุมภาพันธ์ 2560) โรงเรียนขนาดเล็ก (ไม่เกิน 120 คน) 80,000 44,000 32,000 4,000 โรงเรียนขนาดกลาง (ตั้งแต่ คน) 100,000 55,000 40,000 5,000 โรงเรียนขนาดใหญ่ (มากกว่า300 คนขึ้นไป) 120,000 66,000 48,000 6,000

32 Q & A 32


ดาวน์โหลด ppt การบริหารการเงิน และการจัดทำบัญชีสำหรับผู้รับทุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google