ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChristian Randall ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
แนวทางการปรับปรุงการทำงาน ด้านการส่งเสริมการผลิตข้าว ปีงบประมาณ 2561
สัมมนาสรุปผลการดำเนินงาน ปี 2560 และ ทิศทางการดำเนินงานของกรมการข้าว ปี 2561 วันที่ 8 กันยายน 2560 กาญจนบุรี สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว Bureau of Rice Production Extension แนวทางการปรับปรุงการทำงาน ด้านการส่งเสริมการผลิตข้าว ปีงบประมาณ 2561 นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มส่งเสริมการผลิตและจัดการผลผลิต นายธนันท์ หาญเกริกไกร
2
โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวในปี 2561
BRPE สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว โครงการ เป้าหมาย งบประมาณ (ล้านบาท) ค.ระบบส่งเสริมการเกษตร แบบแปลงใหญ่ 2,350 แปลง / 150,000 ราย (ตรวจรับรอง 80.0 ) ค.ศูนย์เรียนรู้เพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร 882 แห่ง/10,020 ราย 18.385 ค.พัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง 18,000 ราย ค.เฝ้าระวังและเตือนภัยศัตรูข้าว 51 จุด 6.0 ค.ส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 5,760 ราย
3
โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวในปี 2561
BRPE สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย งบประมาณ (ล้านบาท) กิจกรรมศูนย์บริการชาวนา/mobile 51 แห่ง 3.0 กิจกรรม วันข้าวและชาวนาแห่งชาติ 5 ครั้ง/3,500 ราย 13 กิจกรรม พัฒนาเครือข่ายและองค์กรชาวนา 71 จังหวัด/3,883 ราย 6.0 กิจกรรม สำรองเมล็ดพันธุ์ข้าว 100 ตัน 1.0 กิจกรรม ส่งเสริมและพัฒนาศูนย์ข้าวชุมชน 49 เครือข่าย/2,940 ราย 10.6 รวม 5 โครงการ 5 กิจกรรม 194,103 ราย
4
แนวทางการปรับปรุงการทำงานปี 2561
BRPE สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว ลดโครงการและพื้นที่ในการเข้าไปปฏิบัติงาน โดย บูรณาการโครงการ ผ่าน โครงการนาแปลงใหญ่ สนับสนุนเจ้าหน้าที่ผู้ช่วยปฏิบัติงาน และพัฒนาให้มีความรู้ ในการทำงาน พัฒนาชาวนาอาสาเพื่อช่วยในการทำงาน ได้แก่ ชาวนาอาสา ในด้านต่างๆ ดังนี้ เมล็ดพันธุ์ เตือนภัยศัตรูข้าว ดินและปุ๋ย เครื่องจักรกล และ GAP อาสา พัฒนาระบบการรายงานให้สะดวกและรวดเร็ว
5
พันธุ์ดีและพัฒนาเครือข่าย(ศขช.)
แนวทางการปรับปรุงการทำงานปี 2561 BRPE สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว นาแปลงใหญ่ ผลิตข้าว มาตรฐาน GAP (2) ผลิตและกระจาย พันธุ์ดีและพัฒนาเครือข่าย(ศขช.) (1) ชาวนาอาสา (SF) (3) เฝ้าระวังเตือนภัย ศัตรูข้าว (4) ชาวนารุ่นใหม่ (6) ศูนย์เรียนรู้ (ศพก./เครือข่าย) (5)
6
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในพื้นที่เหมาะสม
แนวทางการปรับปรุงการทำงานปี 2561 BRPE สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว ชายแดนภาคใต้ ผลิตข้าว GAP ฟื้นฟูนาร้าง ชาวนาอาสา (SF) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในพื้นที่เหมาะสม หมู่บ้านต้นแบบ พันธุ์พื้นเมือง
7
งานริเริ่มใหม่ ในปี 2561 BRPE
สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว ลดโครงการและพื้นที่ในการเข้าไปปฏิบัติงาน โดย บูรณาการโครงการ ผ่าน โครงการนาแปลงใหญ่ สนับสนุนเจ้าหน้าที่ผู้ช่วยปฏิบัติงาน และพัฒนาให้มีความรู้ ในการทำงาน พัฒนาชาวนาอาสาเพื่อช่วยในการทำงาน ได้แก่ ชาวนาอาสา ในด้านต่างๆ ดังนี้ เมล็ดพันธุ์ เตือนภัยศัตรูข้าว ดินและปุ๋ย เครื่องจักรกล และ GAP อาสา พัฒนาระบบการรายงานให้สะดวกและรวดเร็ว
8
งานริเริ่มใหม่ ในปี 2561 BRPE
สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว โครงการนำร่องการบริหารจัดการนาแปลงใหญ่ประชารัฐ โดยใช้เทคโนโลยีเกษตรกรรมความแม่นยำสูง - แปลงต้นแบบ ตำบลหัวเขา อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี พื้นที่ 3,000 ไร่ พื้นที่เป้าหมาย - แปลงขยายผล 20 แปลง จ.เชียงใหม่ จ.กาฬสินธุ์ จ.สุรินทร์ จ.ศรีสะเกษ จ.สกลนคร จังหวัดละ 1 แปลง จ.พิษณุโลก 10 แปลง จ.ราชบุรี 3 แปลง และ จ.เพชรบุรี 2 แปลง
9
งานริเริ่มใหม่ ในปี 2561 BRPE
สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว โครงการนำร่องการบริหารจัดการนาแปลงใหญ่ประชารัฐ โดยใช้เทคโนโลยีเกษตรกรรมความแม่นยำสูง วัตถุประสงค์ - ส่งเสริมการบริหารจัดการการผลิตข้าวโดยใช้เทคโนโลยีเกษตรกรรมความแม่นยำสูง - เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ยกระดับมาตรฐานการผลิต บริหารจัดการกลุ่ม และผลผลิตตลอดห่วงโซ่อุปทาน การบูรณาการ ทั้งหน่วยงานภายใน/ภายนอกกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ / ภาคเอกชน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ - เกิดการเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำนาตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ - ลดผลกระทบจากการเสี่ยงภัยด้านต่างๆ - สร้างภาพลักษณ์ใหม่ทางด้านการเกษตรแก่คนรุ่นใหม่
10
งานริเริ่มใหม่ ในปี 2561 BRPE
สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ (Premium grade) - 9 แปลง จ.กาฬสินธุ์ 1 แปลง จ.ยโสธร 2 แปลง จ.ศรีสะเกษ 3 แปลง และ จ.สุรินทร์ 3 แปลง พื้นที่เป้าหมาย วัตถุประสงค์ - ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม - บริหารจัดการกลุ่มผู้ผลิตข้าวมะลิคุณภาพชั้นเลิศ เป้าหมาย - เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ - ลดต้นทุน > 20 % เพิ่มผลผลิต > 500 กิโลกรัม/ไร่ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ - ได้ผลผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ - มีการบริหารจัดการกลุ่มการผลิตและผลผลิตตลอดห่วงโซ่อุปทาน
11
-ขอบคุณและสวัสดี-
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.