ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยἈράμ Κωνσταντίνου ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท.
เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงรายเขต ๑
2
1. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำหลักสูตร
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. 1. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำหลักสูตร - คณะกรรมการบริหารศูนย์ - ผู้ทรงคุณวุฒิ - รก.หน.ศพด. - ครู - ตัวแทน ผู้ปกครอง - ตัวแทน ชุมชน
3
๒. คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๒. คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง - ศึกษา ทำความเข้าใจหลักสูตร คู่มือ หลักสูตร ฯลฯ - รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น ตลอดจนนโยบาย จุดเน้น วิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ของ ศพด ตามแผนพัฒนาคุณภาพฯ
4
๓. ดำเนินการจัดทำหลักสูตร
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๓. ดำเนินการจัดทำหลักสูตร ๑) ปก หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเวียงเชียง รุ้ง พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย พุทธศักราช 2560
5
๔) ปรัชญาการศึกษาปฐมวัยของศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก ๕) ประกาศใช้หลักสูตร
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๒) คำนำ ๓) สารบัญ ๔) ปรัชญาการศึกษาปฐมวัยของศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก ๕) ประกาศใช้หลักสูตร
6
๖) วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๖) วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย - วิสัยทัศน์ต้องสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของ หลักสูตร ๒๕๖๐ ชัดเจน-เหมาะสม- มีระยะเวลา ที่แน่นอน - พันธกิจ เป็นการกำหนดภาระงานหรือ วิธีดำเนินงาน ที่จะต้องทำ เพื่อให้บรรลุ วิสัยทัศน์ - เป้าหมาย เป็นการกำหนดความคาดหวังที่ เกิดขึ้นจากการ ดำเนินงานตามพันธกิจ ทั้งเชิงปริมาณและ คุณภาพ
7
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท.
๗) จุดหมาย เป็นการกำหนดความคาดหวังที่จะเกิด กับเด็กหลังจากจบหลักสูตร
8
๘) มาตรฐานคุณลักษณะที่ พึงประสงค์
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๘) มาตรฐานคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ นำมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ และสภาพที่พึงประสงค์ของ หลักสูตรฯ ทั้งหมดมากำหนด(เพิ่มเติม ได้)
9
๑๐) สาระการเรียนรู้ รายปี
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๙) การจัดเวลา เรียน ไม่น้อยกว่า 180 วันต่อ 1 ปี ในแต่ละวันใช้เวลาไม่น้อยกว่า 5 ชั่วโมง (ปรับได้ตามบริบท) ๑๐) สาระการเรียนรู้ รายปี ยึดตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรฯ ๒๕๖๐ (อาจเพิ่มเติมสาระที่ควรรู้ได้)
10
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท.
ตารางวิเคราะห์สาระการ เรียนรู้
11
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท.
๑๑) การจัดประสบการณ์ มีรูปแบบ แนวทางและวิธีการที่ หลากหลาย
12
๑๒) การจัดสภาพแวดล้อม สื่อ และ แหล่งเรียนรู้
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๑๒) การจัดสภาพแวดล้อม สื่อ และ แหล่งเรียนรู้ ด้านกายภาพ ในห้องเรียน ควรมีมุมเล่น 3-5 มุม และภายนอกห้องเรียน ด้านจิตภาพ เพื่อให้เด็กรู้สึกอบอุ่น ปลอดภัย กล้าแสดงออก และมั่นใจในตนเอง
13
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท.
ด้านสังคม ควรจัดทำแผนที่แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน ภายนอก ตลอดจนสถานที่สำคัญในชุมชนภูมิปัญญา ท้องถิ่น พร้อมทั้งอธิบายแนวทางการใช้ เพื่อ เป็นแนวทางให้ครูผู้สอน ยึดเป็นหลักปฏิบัติ
14
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท.
๑๓) การประเมินพัฒนาการ เขียนแนวปฏิบัติการประเมินพัฒนาการให้ ชัดเจน - หลักการประเมิน - ขอบเขตของการประเมิน - วิธีการและเครื่องมือ ประเมิน - เกณฑ์การประเมิน และระดับ คุณภาพ
15
๑๔) การบริหารจัดการหลักสูตร
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๑๔) การบริหารจัดการหลักสูตร - กำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้ที่ เกี่ยวข้อง - พัฒนาผู้สอน สนับสนุนงบประมาณ และทรัพยากร - นิเทศติดตามการนำหลักสูตร สถานศึกษา สู่การปฏิบัติ - การประเมินหลักสูตร สถานศึกษา
16
๑๕) การเชื่อมต่อของการศึกษาระดับ ปฐมวัย
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๑๕) การเชื่อมต่อของการศึกษาระดับ ปฐมวัย - กำหนดบทบาทของบุคลากรฯ ในการ สร้างรอยเชื่อมต่อ - หลีกเลี่ยงที่จะเน้นเฉพาะทักษะอ่าน เขียน เรียนเลข และเรียนรู้แบบท่องจำให้กับเด็ก ซึ่ง อาจส่งผลกระทบ ต่อพัฒนาการที่จำเป็นสำหรับ ความสำเร็จ ทางวิชาการของเด็กในอนาคต
17
๑๖) ภาคผนวก ๑๗) เอกสารอ้างอิง
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๑๖) ภาคผนวก - คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำ หลักสูตร ๑๗) เอกสารอ้างอิง - บรรณานุกรม
18
๔. ตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษา ปฐมวัย
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๔. ตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษา ปฐมวัย เพื่อให้มีสารสนเทศในการปรับปรุง หลักสูตรให้มีความเหมาะสมและมีคุณภาพ โดยใช้วิธีการสอบถามความคิดเห็นหรือ เครื่องมือในการตรวจสอบจากบุคคลที่ เกี่ยวข้อง
19
๕. ขออนุมัติการใช้หลักสูตร สถานศึกษาปฐมวัย
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๕. ขออนุมัติการใช้หลักสูตร สถานศึกษาปฐมวัย ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ บริหารศูนย์ โดยบันทึกไว้ในสมุดบันทึกการประชุม คณะกรรมการฯ ในระเบียบวาระที่ 4 เรื่องที่เสนอให้ที่ ประชุมพิจารณา
20
๖. ประกาศให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษา ปฐมวัย
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๖. ประกาศให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษา ปฐมวัย เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบและดาเนิน การตามบทบาทหน้าที่ของตน
21
๗. นำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยไป ใช้
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๗. นำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยไป ใช้ - ครูผู้สอนวางแผนและออกแบบการจัด ประสบการณ์ การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาเด็กให้บรรลุตาม มาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ - ผู้บริหาร สนับสนุน ส่งเสริม นิเทศ ติดตาม และประเมินผล
22
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560
การให้ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ครบถ้วน ถูกต้อง เหมาะสมทุกรายการ ระดับคุณภาพ 2 หมายถึง มีครบทุกรายการ แต่มีบางรายการควรปรับปรุง แก้ไข ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ไม่มี หรือมีไม่ครบทุก รายการ ไม่สอดคล้อง ต้องปรับปรุงแก้ไขหรือ เพิ่มเติม
23
องค์ประกอบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560
1. ปรัชญาการศึกษาปฐมวัยของ สถานศึกษา 2. วิสัยทัศน์ 3. พันธกิจ/ ภารกิจ 4. เป้าหมาย 5. จุดหมาย 6. โครงสร้างของ หลักสูตร 6.1 กำหนดสาระการ เรียนรู้รายปี 6.2 กำหนดเวลาเรียน
24
องค์ประกอบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560
7. การจัดประสบการณ์ 8. การสร้างบรรยากาศการ เรียนรู้ 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 10. การประเมินพัฒนาการ 11. การบริหารจัดการ หลักสูตร
25
การสรุปและแปลผล ช่วง คะแนน การแปล ผล 23 – 33 คะแนน
ช่วง คะแนน การแปล ผล 23 – 33 คะแนน ดี/เหมาะสม/ สอดคล้อง 12 – 22 คะแนน พอใช้ /ควรปรับปรุง บางรายการ 1 – 11 คะแนน ไม่สอดคล้อง/ต้อง ปรับปรุง/แก้ไข
26
ข้อสังเกตการตรวจสอบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย (การประเมินก่อนนำหลักสูตรไปใช้)
๑. ควรประเมินหลายคน คนเดียวอาจ ลำเอียง/เข้าข้างตัวเอง ๒. ควรประเมินเพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศ ที่จะ นำไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรให้มีความ เหมาะสม มีคุณภาพ ก่อนนำเสนอเข้าที่ประชุม คณะกรรมการบริหารศูนย์ เพื่อให้ความเห็นชอบ และที่ประชุมสามารถให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ก่อนให้ความเห็นชอบได้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.