ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แนวทางการทำโครงงาน บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
การอบรมเชิงปฏิบัติการ CT-LT เมษายน 2558
2
คำถามในแบบประเมินออนไลน์
ที่มาของโครงงาน มีการสำรวจความรู้ประสบการณ์เดิมและการคาดการณ์คำตอบของนักเรียน ใช่หรือไม่ใช่ ได้ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเตรียมการและวางแผนการทำโครงงานหรือไม่ ให้ความสำคัญกับแง่มุมต่อไปนี้เป็นพิเศษหรือไม่ (การบูรณาการ การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง การทำงานร่วมกัน)
3
คำถามในแบบประเมินออนไลน์
ได้บูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ใดบ้าง กิจกรรมการเรียนรู้หลากหลายหรือไม่ มีกิจกรรมเพิ่มเติมที่ไม่ได้วางแผนไว้ ส่งเสริมให้นักเรียนถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับจากการทำโครงงานให้กับคนอื่น ๆ
4
คำถามในแบบประเมินออนไลน์
นักเรียนจดบันทึกผลของโครงงานในรูปแบบใด (ภาพวาด ภาพถ่าย แบบบันทึกผลกิจกรรม แฟ้มสะสมผลงาน บันทึกเป็นวิดีโอ/บันทึก สมุดบันทึกการเรียนรู้) การพัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ หรือไม่ ผู้ปกครองมีส่วนร่วมหรือไม่ มีการใช้แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนหรือไม่
5
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
ความเป็นโครงงาน มีคำถามย่อย กล่าวคือ คำถามที่จะสำรวจตรวจสอบ เพื่อตอบคำถามหลัก ใช้วัฎจักรวิจัย ในการสำรวจตรวจสอบ อย่างน้อย 2 รอบ คะแนนพิเศษ (3 คะแนน)
6
ที่มาของคำถาม
7
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
ที่มาของคำถามในการสำรวจตรวจสอบ มาจากครู คะแนน มาจากนักเรียนและครูร่วมกัน 2 คะแนน มาจากนักเรียน คะแนน
8
ตั้งคำถาม สังเกตและ บรรยายสิ่งที่พบ บันทึกผล
รวบรวมความคิด และตั้งสมมติฐาน ตั้งคำถาม ทำการทดลอง/ค้นคว้า อภิปราย สิ่งที่ได้เรียนรู้ สังเกตและ บรรยายสิ่งที่พบ บันทึกผล
9
กระทง
10
เทียนชนืดใดจุดติดได้นาน
กระทงหลงทาง เทียนชนืดใดจุดติดได้นาน วัสดุใดที่ทำฐานกระทงได้บ้าง ประเพณีลอยกระทงมีที่มาอย่างไร รูปทรงใด รับน้ำหนักได้ดีที่สุด กระทงรับน้ำหนักได้มากที่สุดเท่าใด องค์ประกอบที่สำคัญของกระทงมีอะไรบ้าง ประเทศใดที่มีการลอยกระทงบ้าง
11
ดินน้ำมัน
12
ดินน้ำมัน ดินน้ำมันทำจากอะไร ทำดินน้ำมันใช้เองทำได้อย่างไร
ดินน้ำมันมีประโยชน์อย่างไรบ้าง เก็บดินน้ำมันอย่างไรให้เก็บได้นาน ดินน้ำมันที่ทำขึ้นเองสามารถปั้นได้ดีเท่ากับดินน้ำมันที่ซื้อมาหรือไม่
13
ดินน้ำมันทำจากอะไร
14
นักเรียนคิดว่าดินน้ำมันทำจากอะไร
กลิ่นของดินน้ำมันเหมือนกับอะไร ลักษณะของดินน้ำมันคล้ายกับอะไร รวบรวมความคิด และตั้งสมมติฐาน
15
ดินน้ำมันทำจากอะไร ทำการทดลอง/ค้นคว้า เราจะหาคำตอบได้จากแหล่งใด
สืบค้นร่วมกับผู้ปกครอง ดูวีดีทัศน์ หรือ เยี่ยมชมโรงงาน เชิญผู้เชี่ยวชาญมาเล่าประสบการณ์ ดินน้ำมันทำจากอะไร ทำการทดลอง/ค้นคว้า
16
เก็บดินน้ำมันอย่างไรให้ไว้ได้นาน
17
รวบรวมความคิด และตั้งสมมติฐาน เก็บดินน้ำมันอย่างไรให้ไว้ได้นาน
นักเรียนเก็บดินน้ำมันอย่างไร ควรเก็บดินน้ำมันไว้ที่ไหน (ตากแดด ในร่ม) อุณหภูมิที่เหมาะสมควรเป็นเท่าไหร่ รวบรวมความคิด และตั้งสมมติฐาน
18
ตั้งสมมติฐาน รวบรวมความคิด และ เราจะทดสอบอะไรบ้าง
ดินน้ำมันที่ห่อด้วยพลาสติกจะอยู่ได้นานกว่าดินน้ำมันที่วางไว้โดยไม่ห่อ ดินน้ำมันที่เก็บในที่ร่มไม่ตากแดดจะอยู่ได้นานกว่าที่ตากแดด เก็บดินน้ำมันอย่างไรให้ไว้ได้นาน รวบรวมความคิด และ ตั้งสมมติฐาน
19
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
การออกแบบการสำรวจตรวจสอบ ครูออกแบบให้ คะแนน นักเรียนมีส่วนร่วม คะแนน นักเรียนออกแบบเอง คะแนน
20
ทดลอง/ค้นคว้า เราจะออกแบบการทดลองอย่างไร
มีอะไรที่ต้องเหมือนกันในการทดลอง มีอะไรที่แตกต่างกัน บอกได้อย่างไรว่าดินน้ำมันยังมีสภาพที่ดี เก็บดินน้ำมันอย่างไรให้ไว้ได้นาน ทดลอง/ค้นคว้า
21
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
การดำเนินการสำรวจตรวจสอบ ครูดำเนินการ คะแนน นักเรียนและครูร่วมกัน คะแนน นักเรียนปฏิบัติได้ด้วยตนเอง 3 คะแนน แสดงหลักฐาน (ภาพถ่าย)
22
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
การส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2 ทักษะ คะแนน 3 ทักษะ คะแนน ตั้งแต่ 4 ทักษะ คะแนน
23
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การสังเกต การวัด การจำแนกประเภท ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา การคำนวณ การลงความเห็นจากข้อมูล
24
สเปสกับสเปส และ สเปสกับเวลา
อธิบายลักษณะของวัตถุสองมิติและสามมิติ วาดรูปสองมิติ จากวัตถุสามมิติ ระบุรูปทรงเรขาคณิตของวัตถุ บอกความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุกับเวลาหรือขนาด น้ำตาลก้อนเปลี่ยนไปอย่างไร ในเวลาเปลี่ยนไป
25
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การลงความเห็นจากข้อมูล การพยากรณ์ การตั้งสมมติฐาน การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การกำหนดและควบคุมตัวแปร การทดลอง (ออกแบบ ปฏิบัติ บันทีก) การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป
26
ปริมาณน้ำตาลที่ละลาย
พยากรณ์ การทำนายผลที่อาจจะเกิดขึ้นบนข้อมูลที่มี เช่น ถ้าใช้น้ำร้อนน้ำตาลจะละลายได้มากที่สุดกี่ก้อน อุณหภูมิของน้ำ น้ำเย็น น้ำธรรมดา ปริมาณน้ำตาลที่ละลาย 2 5
27
สมมติฐาน การหาคำตอบไว้ล่วงหน้าก่อนการทดลอง
น้ำแข็งที่ทุบละเอียดจะหลอมเหลวได้เร็วกว่าน้ำแข็งก้อน น้ำแข็งที่เก็บในกระป๋องพลาสติกจะละลายได้ช้ากว่าน้ำแข็งที่เก็บในกระป๋องโลหะ
28
การกำหนดนิยามเชิงปฎิบัติการ
การอธิบายความหมาย ขอบเขต ของตัวแปร น้ำแข็งหลอมเหลวได้เร็ว คืออะไร วัดอย่างไร เปรียบเทียบเวลาเมื่อน้ำแข็งหลอมเหลวจนหมดก้อน เปรียบเทียบปริมาณน้ำที่หลอมเหลวจากน้ำแข็ง ในเวลา 30 วินาที ดินน้ำมันสภาพดี คือ อะไร เมื่อนำมาคลึงหรือปั้น ไม่มีรอยแตกหรือหัก
29
การกำหนดและควบคุมตัวแปร
การบ่งชี้และระบุชนิดของตัวแปร ตัวแปรต้น - ตัวแปรใดที่เราต้องการจะศึกษา ตัวแปรตาม - ผลที่เกิดขึ้นจากตัวแปรต้น ตัวแปรควบคุม - สิ่งใดที่เราต้องควบคุมให้เหมือนกัน น้ำแข็งจะหลอมเหลวได้ดีที่อุณหภูมิสูง
30
พัฒนาการ 4 ด้าน การเรียนรู้ การเคลื่อนไหว ภาษา สังคม
31
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
การส่งเสริมพัฒนาการ อย่างน้อย 2 ด้าน คะแนน 3 ด้าน คะแนน ครบ 4 ด้าน คะแนน
32
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
การบันทึกผลการสำรวจตรวจสอบ ไม่สอดคล้อง คะแนน สอดคล้อง คะแนน สอดคล้องและนำเสนอน่าสนใจ 2 คะแนน
33
สังเกตและ บรรยายสิ่งที่พบ
เก็บดินน้ำมันอย่างไรให้ไว้ได้นาน ขณะที่ทำการทดลองสังเกตเห็นอะไรบ้าง ดินน้ำมันที่ตากแดดมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร สังเกตและ บรรยายสิ่งที่พบ
34
บันทึกผล ผลที่เกิดขึ้นจากการทดลอง ควรบันทึกอะไรบ้าง บันทึกรูปแบบใด
ออกแบบการบันทึกอย่างไร ที่นำไปสู่การลงข้อสรุป บันทึกผล
35
ปริมาณน้ำที่หลอมเหลวจากน้ำแข็งก้อนในเวลา 2 นาที
ทุบหยาบ ทุบละเอียด
36
จำนวนก้อนน้ำตาลที่ละลายได้ในตัวทำละลายต่าง ๆ
37
จำนวนแมลงชนิดต่าง ๆ ที่พบในนาข้าว
ตั๊กแตก แมลงวัน เพลี้ย แมลงนูน มวนง่าม
38
ปลาที่พบในอ่างเก็บน้ำและน้ำตก
ปลาดุก ปลาหลด ปลาพลวง ปลาแรด ปลาซิว ปลาซ่อนทราย ปลาหมอ ปลานิล
39
ทิศทางที่กระแสลมพัดผ่าน
40
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
การสรุปผลการสำรวจตรวจสอบ ครูสรุป คะแนน ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป คะแนน นักเรียนสรุป คะแนน สรุปจากผลที่ได้จากการทดลอง
41
น้ำตาลละลายได้ดีที่สุดในน้ำโซดา รองลงมาคือ น้ำเปล่า น้ำมะนาว น้ำปลา ตามลำดับ
น้ำตาลละลายได้แตกต่างกันในของเหลวต่างชนืดกัน
42
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คัดลอกจากบุคคลอื่น ปรับตก นำหัวข้อโครงงานมาจากแหล่งอื่น 1 คะแนน ริเริ่มหัวข้อโครงงานเอง คะแนน ริเริ่มเอง น่าสนใจ แปลกใหม่ คะแนน หัวข้อโครงงานที่น่าสนใจ คือ เกิดจากคำถามและความอยากรู้ของเด็ก
43
เว็บไซต์ในการลงทะเบียนประเมินผล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.