ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Homeostasis
2
กลุ่มของเซลล์ที่มาอยู่และทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกัน
เนื้อเยื่อ Tissue กลุ่มของเซลล์ที่มาอยู่และทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกัน อวัยวะ Organ กลุ่มของเนื้อเยื่อที่มาอยู่และทำงานร่วมกันตามชนิดของเนื้อเยื่อนั้น ระบบอวัยวะ Organ system การทำงานร่วมกันของระบบอวัยวะต่างๆเกิดเป็นระบบของร่างกายขึ้น เช่น ระบบขับถ่าย ระบบหายใจ ระบบย่อยอาหาร
3
พืชมีกลไกการรักษาดุลยภาพของน้ำ
การคายน้ำทางปากใบ เร็วกว่า การดูดน้ำทางราก ปากใบ Stroma แคบลง ปิด ประตูควบคุมปริมาณน้ำ รักษาดุลยภาพของน้ำ
4
ปัจจัยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ สิ่งแวดล้อมภายนอกร่างกาย สิ่งแวดล้อมภายในร่างกาย > 70% น้ำ อุณหภูมิ อื่นๆ ความเป็นกรด - เบส
5
การรักษาดุลยภาพของน้ำในร่างกายมนุษย์
สมองส่วนไฮโพทาลามัส Renal artery Kidney Renal vein Ureter ต่อมหมวกไต Urethra Urinary bladder Urine
6
ของเหลวที่ร่างกายรับเข้า ของเหลวที่ร่างกายขับออก
เครื่องดื่ม ปัสสาวะ 1,200 cm3 1,500 cm3 อาหาร เหงื่อ 1,000 cm3 500 cm3 กระบวนการหายใจ หายใจออก 300 cm3 350 cm3 รวม อุจจาระ 2,500 cm3 150 cm3 รวม 2,500 cm3
7
หน้าที่ Kidney ช่องท้องค่อนไปทางด้านหลัง
2 ข้างระดับเอวตามแนวกระดูกสันหลัง คล้ายเมล็ดถั่วแดง กรองของเสียออกจากเลือด หน้าที่ รักษาดุลยภาพของน้ำ + แร่ธาตุ
8
Glomerulus Nephron โกลเมอรูลัส
ส่วนประกอบของหน่วยไตเป็นเส้นเลือดฝอยภายในกระเปาะโบว์แมนแคปซูล กรองของเสียออกจากเลือด ของเหลวที่ไต หน่วยไต Nephron องค์ประกอบของไต รีนัลคอร์เท็กซ์ (เนื้อไตส่วนนอก) รีนัลเมดัลลา (เนื้อไตส่วนใน) กรองของเสียออกจากเลือด และรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ น้ำปัสสาวะ
9
ปริมาณของสารต่างๆ ในน้ำเลือด / ในของเหลวที่ไต / ในน้ำปัสสาวะ
ปริมาณของสารต่างๆ ในน้ำเลือด / ในของเหลวที่ไต / ในน้ำปัสสาวะ ผ่านโกลเมอรูลัส ผ่านท่อหน่วยไต สาร ในน้ำเลือด ( g / 100cm3 ) ในของเหลวที่ไต ในน้ำปัสสาวะ น้ำ 90 95 โปรตีน 8 - ยูเรีย 0.03 1.8 กรดยูริก 0.004 0.05 กลูโคส 0.1 กรดอะมิโน ไอออนต่างๆ (Na+ , Cl-) 0.9 <
10
ปลายประสาทในต่อมใต้สมองส่วนท้าย
ในกระบวนการดูดสารกลับของท่อหน่วยไตใช้การลำเลียงสาร แบบไม่ใช้พลังงานของเซลล์(Passive transport) แบบใช้พลังงานของเซลล์(Active transport) น้ำ , ยูเรีย , Cl- , HCO-3 กลูโคส , กรดอะมิโน , Na+ , K+ สมองส่วนใดของร่างกายที่ควบคุมสมดุลของปริมาณน้ำในเลือด ไฮโพทาลามัส Hypothalamus ปลายประสาทในต่อมใต้สมองส่วนท้าย ADH Anti – Diuretic Hormone =
11
Hypothalamus ต่อมใต้สมอง
12
Anti – Diuretic Hormone
ไฮโพทาลามัส ADH ต่อมใต้สมองส่วนท้าย Anti – Diuretic Hormone vasopressin ฮอร์โมนควบคุมสมดุลของปริมาณน้ำในเลือด โดยการดูดกลับที่บริเวณท่อหน่วยไต ต่อมหมวกไตส่วนนอก ฮอร์โมนเรนิน (renin) Aldosterone hormone แอลโดสเตอโรน ฮอร์โมนควบคุมสมดุลของปริมาณแร่ธาตุในเลือด โดยการดูดกลับที่บริเวณท่อหน่วยไต เลือดที่มีความเข้มข้นมาก เลือดที่มีปริมาณน้ำในเลือดน้อย
13
ไฮโพทาลามัส ไต ต่อมใต้สมองส่วนท้าย ดื่มน้ำ กระหายน้ำ
เลือดที่มีความเข้มข้นมาก เลือดที่มีปริมาณน้ำในเลือดน้อย ปริมาณปัสสาวะมาก ปริมาณปัสสาวะน้อย ยับยั้ง ไฮโพทาลามัส ปริมาณน้ำในเลือดมาก ดูดน้ำกลับ กระตุ้นให้หลั่ง ADH ไต ต่อมใต้สมองส่วนท้าย ยับยั้งการหลั่ง ADH ดื่มน้ำ กระหายน้ำ
14
Cut Section of Kidney Capsule Cortex Medulla Calyx Renal papilla
Fat in renal sinus Renal artery Renal vein Renal sinus Renal pelvis Renal pyramid in renal medulla Ureter
15
ที่มา : www.oknation.net/blog/NookL/2008/01/15
17
Kidney ควบคุมสมดุลน้ำ และอิเล็กโทรไลต์ของร่างกาย
ควบคุมความเป็นกรดเบสของของเหลวในร่างกาย ขับถ่ายของเสีย ซึ่งเกิดจากเมแทบอลิซึมของร่างกาย เกิดสารบางอย่างที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น กลูโคส ขับถ่ายสารแปลกปลอมที่ร่างกายรับมา เช่น ยารักษาโรค สร้างสารบางชนิดที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น ฮอร์โมนเรนิน (renin)
18
Bowman’s capsule Renal corpuscle Glomerulus Afferent arteriole
Efferent arteriole Renal tubule Proximal tubule Nephron Bowman’s capsule Distal tubule Collecting duct Loop of Henle kaekunz.exteen.com/ /endocrines-back-s...
19
ที่มา : commons.wikimedia.org/wiki/Image:Kidney_neph
20
ที่มา : coe.fgcu.edu/…/greenep/kidney/Glomerulus.html
21
scienceblogs.com/.../2006/06/kidney-nephron.jpg
23
คอนแทรกไทล์ แวคิวโอล กำจัดน้ำออก
น้ำแพร่เข้าสู่เซลล์ คอนแทรกไทล์ แวคิวโอล กำจัดน้ำออก
24
ขับถ่ายของเสียในรูปแอมโมเนีย แพร่ออกจากเยื่อหุ้มเซลล์สู่น้ำรอบ ๆ ตัว
26
ผิวหนัง / เกล็ดป้องกันแร่ธาตุ
H2O สาร > น้ำ ปัสสาวะน้อยและมีความเข้มข้นสูง / กำจัดทางทวารหนัก กลุ่มเซลล์ขับ แร่ธาตุส่วนเกิน Hypertonic sol H2O ผิวหนัง / เกล็ดป้องกันน้ำ Hypotonic sol สาร น้ำ > Active transport กลุ่มเซลล์ดูดแร่ธาตุกลับ ปัสสาวะบ่อยและค่อนข้าง มีความเจือจาง
28
เมื่ออายุมากจะหลุดร่วงออกจากต้นพร้อมกับแร่ธาตุส่วนเกิน
เมื่ออายุมากจะหลุดร่วงออกจากต้นพร้อมกับแร่ธาตุส่วนเกิน แร่ธาตุส่วนเกินจะถูกเก็บไว้ในแวคิวโอล ของเซลล์ราก ลำต้น และใบ astro.popcornfor2.com/horoscope/fortune_detai.
29
การรักษาดุลยภาพของความเป็นกรด - เบสภายในร่างกาย
เอนไซม์ ปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย Metabolism ลดพลังงานกระตุ้นในปฏกิริยา ช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยาภายในร่างกาย ระดับของค่า pH ในร่างกาย การรักษาดุลยภาพของกรด - เบส ระดับของค่า pH ในร่างกายเหมาะสมกับการทำงานของเอนไซม์ในแต่ละชนิด เอนไซม์เพปซิน โปรตีน เอนไซม์ลิเพส ไขมัน pH = 2 pH = 8
30
กรด การรักษาดุลยภาพของกรด - เบส การรักษาดุลยภาพของกรด – เบสในเลือด
pH ต่ำ กรด H+ Metabolism H2CO3 = H2O CO2 Respiration + HCO-3
31
สมดุล กรด pH เพิ่มขึ้น pH ต่ำ H+ NH+ 4 Kidney Na+ Na+ Na+ NH+ 4 Na+ H+
HCO-3 Na+ Na+ Na+ HCO-3 Nephron NH+ 4 Na+ H+ Na+ H+ Na+ NH+ 4 HCO-3 HCO-3
32
การรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
การตรวจเลือด การตรวจปัสสาวะ สารละลายมีค่าเบี่ยงเบนไปจากปกติ อวัยวะภายในร่างกายทำงานบกพร่อง
33
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ระดับของค่า pH ในร่างกายเหมาะสมกับการทำงานของเอนไซม์ในแต่ละชนิด กลไกควบคุมอุณหภูมิให้อยู่ในช่วงที่เหมาะสมกับการทำงานของกระบวนการต่างๆในร่างกาย อุณหภูมิของร่างกายอยู่ระหว่าง 35.8 – oC oC ต่ำกว่า 34 oC กระบวนการต่างๆในร่างกายไม่สามารถทำงานตามปกติ มากกว่า 40 oC
34
Skin Structures Epidermis Dermis subcutaneous tissue
35
เส้นเลือด / เส้นประสาท
Sweat gland Epidermis Keratin Melanin หนังกำพร้า Collagen เส้นเลือด / เส้นประสาท Elastic Cellulite เซลล์ไขมัน หนังแท้ ชั้นไขมัน ต่อมไขมัน ต่อมเหงื่อ Dermis เส้นขน subcutaneous tissue
36
กลไกการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย
ไฮโพทาลามัส T > 37 OC T < 37 OC เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึม ลดอัตราเมแทบอลิซึม หลอดเลือดหดตัว หลอดเลือดขยายตัว ขนลุก/ร่างกายสั่น ขนเอนราบ ต่อมเหงื่อสร้างเหงื่อ ต่อมเหงื่อไม่สร้างเหงื่อ ลดการระเหย เพิ่มการระเหย T ของเลือดลดลง T ของเลือดเพิ่มขึ้น T ของเลือดปกติ 37 OC imusichelp.blogspot.com/2009_07_01_archive.html hilight.kapook.com/view/11432
37
ไฮโพทาลามัส หน่วยรับรู้อุณหภูมิ ศูนย์ควบคุม กล้ามเนื้อยึดกระดูก
หลอดเลือด เซลล์ไขมัน ต่อมเหงื่อ Homeothermic animal Poikilothermic animal สัตว์เลือดอุ่น สัตว์เลือดเย็น สัตว์ที่สามารถรักษาอุณหภูมิของร่างกายไค้ค่อนข้างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งแวดล้อม สัตว์ที่ไม่สามารถรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่โดยจะเปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งแวดล้อม สัตว์ปีก / สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ปลา / สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน / แมลง
38
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Hibernation การหนีหนาว การหนีร้อน Estivation สัตว์เลือดอุ่น การจำศีล สัตว์เลือดเย็น การที่สัตว์ซ่อนตัวอยู่นิ่งๆไม่เคลื่อนไหวในขณะที่อุณหภูมิของสภาพแวดล้อมเปลี่ยนไปจากปกติ อัตราการเต้นของหัวใจจะลดลง ร่างกายอาศัยอาหารที่สะสมไว้อย่างช้าๆ โดยระยะนี้อัตราเมตาโบลิซึมของร่างกายจะลดลง สัตว์ส่วนใหญ่จึงใช้วิธีการนี้ในการสะสมอาหารในยามที่อาหารหายาก
39
การจำศีลจะสิ้นสุดลงเมื่อสิ้นฤดูหนาวเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ
Hibernation Estivation ปรีชา สุวรรณพินิจ,นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ,ชีววิทยา 2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549, สัตววิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นก จำศีลชั่วคราวโดยการนอนหลับครั้งละหลาย ๆ วัน เต่า , งู นอนเบียดหรือทับกัน เพื่อให้อุณหภูมิสูงกว่าสิ่งแวดล้อม 1-2 องศาเซลเซียส หอย เข้าไปอยู่ใต้ขอนไม้ผุ ๆ หรือใต้ก้อนหิน สร้างเมือกเคลือบปิดฝาเอาไว้ กบ จำศีลในรูดินที่มีความชื้น ส่วนกบป่าจำศีลใต้ก้อนหิน ท่อนไม้หรือตอไม้ในป่า ปลาช่อน จำศีลโดยการฝังตัวอยู่ในโคลนที่มีความชื้น พอฝนตกลงมา ดินอ่อนเป็นโคลนตมก็โผล่ขึ้นมาจากดิน การจำศีลจะสิ้นสุดลงเมื่อสิ้นฤดูหนาวเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ การจำศีลหน้าร้อนจะสิ้นสุดลงเมื่อหมดฤดูร้อนเข้าฤดูฝน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.