ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Alkyne และ Cycloalkyne
เคมีอินทรีย์ Alkyne และ Cycloalkyne 3. แอลไคน์ (Alkyne) แอลไคน์ (Alkynes) มีสูตรทั่วไป CnH2n-2 เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทไม่อิ่มตัว (Unsaturated hydrocarbon) พันธะระหว่างคาร์บอนอะตอมในโมเลกุลมีพันธะสาม (C≡C) มีทั้งโครงสร้างที่เป็นโซ่เปิด (โซ่ตรงและโซ่กิ่ง) และโซ่ปิด โครงสร้างที่เป็นโซ่ปิดเรียกว่าไซโคลแอลไคน์ (Cycloalkyne) มีสูตรทั่วไป CnH2n-4
2
Alkyne และ Cycloalkyne
เคมีอินทรีย์ Alkyne และ Cycloalkyne การอ่านชื่อสารประกอบแอลไคน์ ใช้หลักการอ่านเช่นเดียวกับแอลคีน แต่ลงเสียงท้ายชื่อด้วย –ไอน์ (–yne) ตัวอย่างการอ่านชื่อสารประกอบแอลไคน์
3
ปฏิกิริยาของ Alkyne และ Cycloalkyne
เคมีอินทรีย์ ปฏิกิริยาของ Alkyne และ Cycloalkyne 1. ปฏิกิริยาการเผาไหม้ (Combustion) 2C2H2+ 5O CO2 + 2H2O
4
ปฏิกิริยาของ Alkyne และ Cycloalkyne
เคมีอินทรีย์ ปฏิกิริยาของ Alkyne และ Cycloalkyne 2. ปฏิกิริยาการเติม
5
Aromatic hydrocarbon 4. Aromatic hydrocarbon
เคมีอินทรีย์ Aromatic hydrocarbon 4. Aromatic hydrocarbon เป็นสารประกอบที่อะตอมของคาร์บอนต่อกันเป็นวง มีจำนวน π–electrons เป็น 4n+2 เมื่อ n = 0,1,2,3,... และอิเล็คตรอนเหล่านี้ จะไม่อยู่ประจำที่ ตัวอย่างเช่น
6
Aromatic hydrocarbon Benzene เป็นของเหลวไม่มีสี
เคมีอินทรีย์ Aromatic hydrocarbon Benzene เป็นของเหลวไม่มีสี มีจุดหลอมเหลว 5.5oC และจุดเดือด 80oC เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว ไม่ละลายน้ำ โครงสร้างของเบนซีน ; ความยาวพันธะระหว่างคาร์บอนอะตอมทุกพันธะยาวเท่ากันหมด คือ 1.39Ao ซึ่งเป็นพันธะที่อยู่ระหว่างพันธะคู่ (1.34Ao) และพันธะเดี่ยว (1.54Ao) มุมระหว่างพันธะทุกมุมเป็น 120o
7
เคมีอินทรีย์ Aromatic hydrocarbon Benzene เกิดปรากฏการณ์เรโซแนนซ์ได้
8
เคมีอินทรีย์ Aromatic hydrocarbon Benzene เกิดปรากฏการณ์เรโซแนนซ์ได้
9
ปฏิกิริยาของ Aromatic
เคมีอินทรีย์ ปฏิกิริยาของ Aromatic 1. สามารถทำปฏิกิริยากับ HNO3 โดยมีตัวเร่งปฏิกิริยา 2. สามารถทำปฏิกิริยากับ H2SO4 3. สามารถทำปฏิกิริยากับ Br2 โดยมีตัวเร่งปฏิกิริยา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.