ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
วงจรข่ายสองทาง (Two Port Network)
Piyadanai Pachanapan
2
การวิเคราะห์วงจรข่ายสองทาง
การวัดสัญญาณระหว่าง ด้านทางเข้า และ ด้านทางออก โดย จัดวงจรข่ายที่ต้องการวิเคราะห์ให้มีเพียงด้านทางเข้าและทางออก เขียนองค์ประกอบของวงจรข่ายด้วยพารามิเตอร์ที่แทนลักษณะของวงจรข่าย ให้เหลือเพียงพารามิเตอร์เพียง 4 ตัวแปร
3
One Port One Port การแทนวงจรที่พิจารณาด้วย Black box และ ทางเข้า 1 ทาง
สนใจเฉพาะลักษณะภายนอกของวงจรข่าย สนใจแค่ค่า แรงดัน Port กับ กระแส Port ( i(.), v(.) )
4
Impedance Function : Admittance Function :
5
การหาพารามิเตอร์ของ One Port อาจจะหาได้จาก
Thevenin Equivalent Circuit Norton Equivalent Circuit Thevenin Norton
6
Thevenin Equivalent Network
Norton Equivalent Network
7
Two Port Two Port คือ วงจรข่าย (Network) ที่มี 4 ขั้ว (4 terminal)
ถูกแบ่งเป็น 2 คู่ คือ 1-1’ และ 2-2’ กระแสที่ไหลเข้า 1 มีค่าเท่ากับกระแสที่ไหลออก 1’ กระแสที่ไหลเข้า 2 มีค่าเท่ากับกระแสที่ไหลออก 2’
8
ความแตกต่างระหว่าง Network กับ Two port คือ
ค่ากระแสและแรงดันในแต่ละกิ่ง - Two – Port คือ สนใจเพียงแค่ตัวแปร Port (v1, v2, i1, i2) ทางซ้ายของ Port เรียก input port มีแรงดัน v1 และ กระแส i1 ทางขวาของ Port เรียก output port มีแรงดัน v2 และ กระแส i2 ลักษณะของวงจร Two Port ขึ้นกับรูปคลื่นของสัญญาณ i1(.), v1(.) i2(.), v2(.)
9
สามารถจำแนกประเภทของวงจร Two Port จากลักษณะวงจรสมมูลที่ได้
เป็น 6 ประเภท
11
Impedance Metric of Two – Port (Z parameters)
ก่อนพิจารณาวงจรสมมูลของ Network ที่เป็น Two Port ต้องสมมติ 1. อุปกรณ์ที่ต่ออยู่ใน Two Port เป็นชนิด Linear Time Invariant 2. พิจารณาเฉพาะ Zero State Response Port Paremeter v1(.), i1(.) V1(s), I1(s) v2(.), i2(.) V2(s), I2(s)
12
จากทฤษฎี Superposition
13
จัดรูปแบบได้เป็น : หมายเหตุ ส่วนใหญ่เวลาเขียนรูปสมการไม่ต้องแสดงค่า S
14
เขียนในรูปแบบเมตริกซ์ได้เป็น :
โดยที่ เมตริกซ์ เรียกว่า Open – Circuit Impedance Matrix Zij เรียกว่า Open – Circuit Impedance Parameter
15
การหา Impedance Parameter (Z – Parameter)
จาก พบว่า หา Z11 และ Z21 โดย เปิดวงจรที่ Port 2 ( I2 = 0)
16
ทำนองเดียวกัน หา Z12 และ Z22 โดย เปิดวงจรที่ Port 1 ( I1 = 0)
17
Example # 1 จากวงจรในรูป เขียนวงจรสมมูลในรูปของ Z - Parameter
18
หา Z11 และ Z21 โดย เปิดวงจรที่ Port 2 ( I2 = 0)
พบว่า : จะได้ :
19
หา Z12 และ Z22 โดย เปิดวงจรที่ Port 1 ( I1 = 0)
พบว่า : จะได้ :
20
จะได้เมตริก Z – Parameter เป็น
หน่วยเป็น เขียนเป็นวงจรสมมูลได้เป็น
21
Example # 2 จากวงจรในรูป จงหา Open – Circuit Impedance Matrix (Z) (1)
KVL : (2)
22
หาคำตอบที่เป็น Zero State Response intial condition = 0
จากสมการ (1), (2) แปลงลาปลาซได้เป็น
23
เขียนในรูปแบบเมตริก ได้เป็น :
24
เขียนวงจรสมมูล Z Parameter ได้เป็น
25
วงจรสมมูลแบบ T (T – Equivalent Circuit)
จากวงจรสมมูลของ Z parameter พบว่ามี dependent source อยู่ 2 ตัว สามารถเขียนวงจรสมมูลให้มี dependent source เหลือในวงจร 1 ตัว โดย เขียนวงจรสมมูลเป็น T - Equivalent Circuit
26
EXAMPLE # 3 จากวงจร Ground Base Transister ที่ความถี่ต่ำ มีลักษณะวงจรเป็น T Equivalent Circuit จงเขียนเป็นวงจรสมมูลของ Z parameter
27
T – equivalent Circuit
28
Admittance Metric of Two – Port (Y parameters)
กระแส Port เป็นผลมาจากแหล่งจ่ายแรงดันที่ต่อเข้ากับ Network yij Short – Circuit Admittance Parameter
29
เขียนวงจรสมมูลของ Y- parameter ได้เป็น
30
เขียนในรูปแบบเมตริก ได้เป็น
โดยที่ Short – Circuit Admittance Matrix มีหน่วยเป็น ซีเมนต์
31
การหา Admittance Parameter (Y – Parameter)
จาก พบว่า หา y11 และ y21 โดย ลัดวงจรที่ Port 2 ( V2 = 0)
32
ทำนองเดียวกัน หา y12 และ y22 โดย เปิดวงจรที่ Port 1 ( I1 = 0)
33
Example # 4 จากวงจรในรูป เขียนวงจรสมมูลในรูปของ Y - Parameter
34
หา y11 และ y21 โดย ลัดวงจรที่ Port 2 ( V2 = 0)
พบว่า : จะได้ :
35
หา y12 และ y22 โดย ลัดวงจรที่ Port 1 ( V1 = 0)
พบว่า : จะได้ :
36
จะได้เมตริก Y – Parameter เป็น
หน่วยเป็น เขียนเป็นวงจรสมมูลได้เป็น
37
วงจรสมมูลแบบ ( – Equivalent Circuit)
จากวงจรสมมูลของ Y parameter พบว่ามี dependent source อยู่ 2 ตัว สามารถเขียนวงจรสมมูลให้มี dependent source เหลือในวงจร 1 ตัว โดย เขียนวงจรสมมูลเป็น Equivalent Circuit
38
Node 1 : Node 2 :
39
Example # 5 จากวงจร pentode ใน common – cathode connection มีวงจรสมมูลเป็นดังรูป จงหา short circuit admittance parameters
40
จาก Equivalent Circuit
41
ความสัมพันธ์ระหว่าง Z และ Y พารามิเตอร์
เมื่อ เมื่อ
42
Example # 6 จากวงจรในรูปมีค่า Z - Parameter เป็น จงหา Y - Parameter
43
จาก
44
Hybrid Parameter (H – Parameter)
เป็นพารามิเตอร์ของวงจร Two Port ที่มี I1 และ V2 เป็นตัวแปรอิสระ จะได้สมการดังนี้
45
จากสมการที่ได้ เขียนวงจรสมมูลได้เป็น
46
การหา Hybrid Parameter (H – Parameter)
จาก พบว่า หา h11 และ h21 โดย ลัดวงจรที่ Port 2 ( V2 = 0)
47
ทำนองเดียวกัน หา h12 และ h22 โดย เปิดวงจรที่ Port 1 ( I1 = 0)
48
เขียนในรูปแบบเมตริก ได้เป็น
โดยที่ Hybrid Matrix
49
Example # 7 จากวงจรในรูป เขียนวงจรสมมูลในรูปของ H - Parameter
50
หา h11 และ h21 โดย ลัดวงจรที่ Port 2 ( V2 = 0)
พบว่า : จะได้ :
51
หา h12 และ h22 โดย เปิดวงจรที่ Port 1 ( I1 = 0)
พบว่า : จะได้ :
52
จะได้เมตริก H – Parameter เป็น
เขียนเป็นวงจรสมมูลได้เป็น
53
ความสัมพันธ์ระหว่าง H – Parameter กับ Z - Parameter
(1) (2) H – parameter : จาก Z parameter ขจัด I2 โดย : (1) X Z22 (3) (2) X Z12 (4) (3) - (4)
54
จะได้ เมื่อ = ดีเทอร์มิแนนต์ของ Z จัดรูปสมการใหม่ เทียบกับ H parameter เทียบสัมประสิทธิ์ และ
55
จาก Z parameter สมการ (2) :
จัดรูปแบบใหม่ได้เป็น เทียบกับ H parameter จากการเทียบสัมประสิทธิ์ และ
56
สามารถเขียนความสัมพันธ์ของ Z และ H พารามิเตอร์ในรูปเมตริกซ์ได้เป็น
57
A second Hybrid Parameter
Hybrid Parameter ในอีกกรณี เกิดจากวงจร Two Port มี V1 และ I2 เป็นตัวแปรอิสระ เรียก G - Parameter จะได้สมการดังนี้
58
เขียนสมการให้อยู่ในรูปแบบเมตริกซ์ได้เป็น :
โดยที่ Hybrid Matrix และสามารถหา G จาก
59
The Transmission Matrices (Transmission Parameter
กระแสและแรงดันทางด้านเข้า จะขึ้นอยู่กับกระแสและแรงดันทางด้านออก นิยมใช้วิเคราะห์สายส่งไฟฟ้า เหมาะสำหรับการวิเคราะห์วงจรข่ายหลายๆ วงจรที่ต่อเชื่อมกัน
60
ระบบส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า
61
Transmission Parameter ของสายส่งไฟฟ้าแรงสูง
62
แบบจำลองสายส่งไฟฟ้า ระยะสายส่งไม่เกิน 80 km ระยะสายส่งระหว่าง 80 km ถึง 240 km
63
สมการของ Transmission Parameter คือ
64
การหา Transmission Parameter (T – Parameter)
พบว่า หา A และ C โดย เปิดวงจรที่ Port 2 ( I2 = 0)
65
ทำนองเดียวกัน หา B และ D โดย ลัดวงจรที่ Port 2 ( V2 = 0)
A คือ อัตราส่วนแรงดันโอนย้ายรีเวิร์ส เมื่อเปิดวงจรด้านทางออก D คือ อัตราส่วนกระแสโอนย้ายรีเวิร์ส เมื่อลัดวงจรด้านทางออก B คือ อิมพีแดนซ์โอนย้ายรีเวิร์ส เมื่อลัดวงจรด้านทางออก C คือ แอดมิตแตนซ์โอนย้ายรีเวิร์ส เมื่อเปิดวงจรด้านทางออก
66
เขียนในรูปแบบเมตริก ได้เป็น
โดยที่ Transmission Matrix Transmission Parameters และ A, B, C, D
67
ถ้าต้องการเขียนตัวแปรเอาท์พุต V2 กับ – I2 ในเทอมของตัวแปรอินพุต
68
Example # 8 จากวงจรในรูป เขียนวงจรสมมูลในรูปของ Transmission - Parameter ต้องการหา Transmission – Parameter จาก
69
หา A และ C โดย เปิดวงจรที่ Port 2 ( - I2 = 0)
พบว่า : จะได้ :
70
หา B และ D โดย ลัดวงจรที่ Port 2 ( V2 = 0)
พบว่า : จะได้ :
71
จะได้เมตริก Transmission – Parameter เป็น
72
ความสัมพันธ์ระหว่าง T – Parameter กับ Z - Parameter
(1) (2) T – parameter : จาก Z parameter ขจัด I1 โดย : (1) X Z21 (3) (2) X Z11 (4) (3) - (4)
73
จะได้ เมื่อ = ดีเทอร์มิแนนต์ของ Z จัดรูปสมการใหม่ เทียบกับ T parameter เทียบสัมประสิทธิ์ และ
74
จาก Z parameter สมการ (2) :
จัดรูปแบบใหม่ได้เป็น เทียบกับ T parameter จากการเทียบสัมประสิทธิ์ และ
75
สามารถเขียนความสัมพันธ์ของ Z และ T พารามิเตอร์ในรูปเมตริกซ์ได้เป็น
76
ตารางสรุปความสัมพันธ์ระหว่างพารามิเตอร์ต่างๆ
77
การประยุกต์ใช้งานพารามิเตอร์ของวงจรข่ายสองทาง # 1
จากรูป เป็นวงจรข่ายที่เขียนด้วย Z-Parameter ต่อเข้ากับโหลดขนาด 1 โอห์ม ที่ด้านทางออก จงหา อัตราส่วนกระแส (AI) และ อัตราส่วนแรงดัน (AV) Z – Parameter : (1) (2) จากวงจร : (3)
78
แทนสมการ (3) ใน (2) จะได้ Z parameter ขจัด I1 โดย : {(1) X Z21 } – {(2) X Z11 } จะได้ เมื่อ
79
การประยุกต์ใช้งานพารามิเตอร์ของวงจรข่ายสองทาง # 2
จากวงจรในรูป จงหา Y parameter , อัตราส่วนแรงดัน (AV) และ Zout (Output Impedance) Y Parameter :
80
KCL ที่ Node 1 : (1) KCL ที่ Node 2 : (2)
81
แทน (1) ใน (2) (3) จากสมการ (1) และ (3) เขียน Y Parameter ได้เป็น
82
หา AV จากรูปวงจร พบว่ากระแสด้านทางออก คือ (4) แทน (4) ในสมการ (3) ได้เป็น :
83
หา Zout จากสมการ (3) จาก แทนใน (3) จะได้ จะได้
84
การต่อวงจรข่ายสองทางแบบขนาน
นิยมใช้ Admittance Parameter (Y-Parameter) ในการวิเคราะห์ กระแสไหลเข้า คือ I1 และแยกไหลสองทาง IA1, IB1 กระแสไหลออก คือ I2 และแยกไหลสองทาง IA2, IB2 แรงดันทางด้านเข้า คือ V1 = VA1 = VB1 แรงดันทางด้านออก คือ V2 = VA2 = VB2
85
พิจารณาที่วงจรข่าย A พิจารณาที่วงจรข่าย B เมื่อนำวงจรข่ายมาขนานกันพบว่า : แรงดัน :
86
กระแส : แทนค่า IA และ IB ในสมการกระแสข้างบน พารามิเตอร์ของวงจรข่ายสองทางที่ต่อขนานกัน คือ
87
การต่อวงจรข่ายสองทางแบบอนุกรม
นิยมใช้ Impedance Parameter (Z-Parameter) ในการวิเคราะห์ กระแสไหลเข้าวงจรข่าย A และ B มีค่าเท่ากัน กระแสไหลออกวงจรข่าย A และ B มีค่าเท่ากัน
88
ดังนั้น เนื่องจากกระแสของวงจรข่าย A และ B มีค่าเท่ากัน พารามิเตอร์ของวงจรข่ายสองทางที่ต่ออนุกรมกัน คือ
89
การต่อวงจรข่ายสองทางแบบลูกโซ่ (Cascade)
นิยมใช้ Transmission Parameter (T-Parameter) ในการวิเคราะห์ T – parameter : เขียนเป็นเมตริก
90
พารามิเตอร์ของวงจรข่ายสองทางที่ต่อแบบลูกโซ่ คือ
จากวงจรข่าย พบว่า : V2 = V3 และ I3 = - I2 วงจรข่าย A วงจรข่าย B ดังนั้น พารามิเตอร์ของวงจรข่ายสองทางที่ต่อแบบลูกโซ่ คือ
91
Example # 9 จากวงจรข่ายสองทางในรูป เป็นวงจรข่ายที่ต่อกันแบบลูกโซ่ จงหาพารามิเตอร์ ทรานสมิชชันของวงจรข่ายนี้ เมตริกซ์วงจรข่ายสองทางที่ต่อกันแบบลูกโซ่
92
แยกพิจารณาวงจรข่ายออกเป็นวงจรข่าย A และ B
วงจรข่าย A : หา [TA] จาก (1) (2)
93
จัดสมการ (2) ใหม่เป็น : (3) แทนสมการ (3) ใน (1) ได้ (4) จากสมการ (3) และ (4) เขียน T-Parameter ของวงจรข่าย A ได้เป็น
94
วงจรข่าย B : หา [TB] จาก (5) (6) จัดสมการ (6) ใหม่เป็น : (7) แทนสมการ (7) ใน (5) ได้ : (8) เขียน T-Parameter ของวงจรข่าย B ได้เป็น
95
หา Transmission Parameter ของวงจรข่ายที่ต่อกันแบบลูกโซ่ในรูป ได้
หน่วยเป็น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.