งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7
Financial Management การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7 ค่าเป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 4

2 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติการเงินระดับ 7 ปี 2554 – 2561 (ไตรมาส 4)
ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 จำนวน (แห่ง) ที่ติดระดับ 7 115 123 58 78 136 116 87 42 ค่าเป้าหมาย ≥10 ≥6

3 การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
หน่วยงานหลัก: กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ หน่วยงานร่วม: กองบริหารการคลัง/ กลุ่มตรวจสอบภายใน สป. ประเด็น PA Financial Management การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ Governance Excellence แผนงานที่ 13 เป้าหมาย/ตัวชี้วัด Target: หน่วยงานสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่ง (สสจ./ รพศ./ รพท./ รพช.) KPI: ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 สถานการณ์/ ข้อมูลพื้นฐาน หน่วยบริการสังกัด สป.สธ. (รพศ. รพท. รพช.) มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง (Risk Management) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นวัตกรรมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและขยายเป้าหมาย การดำเนินงาน การร่วมบริหารผ่านคณะกรรมการร่วมระดับประเทศ (7x7) และคณะทำงานระดับเขต (5x5) พัฒนาการบริหารระบบบัญชีให้มีคุณภาพ พัฒนาศักยภาพ ภาคีเครือข่ายที่ครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่อลดอัตราหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 7 ด้วยการขับเคลื่อน 5 มาตรการ มาตรการ (Value chain) 1. การจัดสรรเงินอย่างเพียงพอ (Sufficient Allocation) 2. พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management) 3. พัฒนาศักยภาพบริหารด้านการเงินการคลังแก่เครือข่ายและบุคลากร (Network & Capacity Building) 4. สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management) 5. ติดตาม กำกับ เครื่องมือประสิทธิภาพทางการเงิน (Monitoring Management) 1.1 พัฒนาต้นแบบการจ่ายแบบมุ่งเน้นคุณค่า (Value-based Payment) ใน DM, HT 1.2 จัดทำแผนทางการเงินที่มีคุณภาพ 1.3 พัฒนาประสิทธิภาพของระบบการจัดสรรเงินให้กับหน่วยบริการมีรายได้เพียงพอกับค่าใช้จ่าย 2.1 พัฒนาการบริหารระบบบัญชีให้ได้มาตรฐาน 2.2 นำเกณฑ์การประเมินคุณภาพบัญชีมาประเมิน ความถูกต้องของข้อมูล 2.3 พัฒนาการรับ – จ่ายเงินภาครัฐทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment ภาครัฐ) 3.1 พัฒนาศักยภาพผู้บริหารด้านการเงินการคลังเพื่อเข้าสู่ตำแหน่ง ผอ.รพศ. /รพท./ รพช. และ นพ.สสจ. 3.2 พัฒนาศักยภาพบริหารด้านการเงินการคลังแก่ผู้ดำรงตำแหน่งบริหาร (นพ.สสจ./ ผอ.รพ.) 3.3 พัฒนาศักยภาพบริหารด้านการเงินการคลังแก่ CFO ระดับเขต และจังหวัด 3.4 พัฒนาศักยภาพบริหารด้านการเงินการคลังแก่เครือข่ายและบุคลากรด้านการเงินการคลัง 3.5 พัฒนาศักยภาพผู้ตรวจสอบภายในตามมาตรฐาน CGIA 4.1 กระจายอำนาจให้ เขตสุขภาพบริหารจัดการ 4.2พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการร่วม (Merging) 5.1 ควบคุมกำกับโดยเปรียบเทียบ แผนการเงินกับผลการดำเนินงาน 5.2 ควบคุมกำกับโดยเกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน (7 plus efficiency) 5.3 ควบคุมกำกับด้วยเกณฑ์ประเมินต้นทุนผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน (Unit cost) 5.4 พัฒนาระบบการบริหารจัดการหน่วยบริการ ด้วยการตรวจสอบภายใน และควบคุมภายใน 5.5 เฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผลการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง กิจกรรมหลัก ผู้รับผิดชอบ กศภ./ สปค. (PCC) กศภ./ กองคลัง/ ศูนย์เทคฯ กศภ./ ศูนย์เทคฯ/ ตสน.สป./ สบช. กศภ. กศภ./ ตสน.สป. ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 หน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤต ทางการเงิน ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

4 ประเด็น PA Financial Management
การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรการที่ 1 การจัดสรรเงินอย่างเพียงพอ (Sufficient Allocation) 1.1 พัฒนาต้นแบบการจ่ายแบบมุ่งเน้นคุณค่า (Value-based Payment) ใน DM, HT 1.2 จัดทำแผนทางการเงินที่มีคุณภาพ 1.3 พัฒนาประสิทธิภาพของระบบการจัดสรรเงินให้กับหน่วยบริการมีรายได้เพียงพอกับค่าใช้จ่าย  ปรับปรุงค่า Step ladder, K, MOE, อำนาจเขตปรับเกลี่ย ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.1 มีต้นแบบการจ่ายแบบมุ่งเน้นคุณค่า (Value-based Payment) ในโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง แผนการจ่าย ร่างวิธีการจ่าย ทดลองใช้วิธีการจ่ายแบบเสมือนจริง ข้อเสนอการเตรียมแผนใช้งานจริงในปีต่อไป 1.2 ร้อยละของหน่วยบริการ มีแผนทางการเงิน (Planfin) ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ร้อยละ 100 - 1.3 ร้อยละของหน่วยบริการมีรายได้  ค่าใช้จ่าย ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - มุมมองด้านความมั่นคง & ยั่งยืน หมายเหตุ: MOE = Minimal Operating Expense * ดำเนินการร่วมกับ สปค. (PCC)

5 ประเด็น PA Financial Management การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรการที่ 2 พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management) 2.1 พัฒนาการบริหารระบบบัญชีให้ได้มาตรฐาน 2.2 พัฒนาฐานข้อมูลด้านการเงินการคลังของ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2.3 นำเกณฑ์การประเมินคุณภาพบัญชีมาประเมินความถูกต้องของข้อมูล 2.4 พัฒนาการรับ – จ่ายเงินภาครัฐทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment ภาครัฐ) ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 2.1 ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบ งบทดลองเบื้องต้นจากระบบอิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละ 100 2.2 ร้อยละของหน่วยงานที่เป็นหน่วยเบิกจ่ายมีบัญชีเงินสด เงินฝากธนาคารในระบบ GFMIS ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ถูกต้อง ตรงกับรายงานเงินคงเหลือประจำวันและงบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร ไม่ต่ำกว่า 75 (175 แห่ง) ร้อยละ 50 ร้อยละ 55 ร้อยละ 60 ร้อยละ 70 2.3 ร้อยละของหน่วยเบิกจ่ายดำเนินการจ่ายเงิน รับเงิน และนำเงินส่งคลังผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (KTB Corporate Online) ร้อยละ 80 ร้อยละ 90 หมายเหตุ: 2.2 เป็น PA ของกองเศรษฐกิจฯ + ศูนย์เทคโนโลยี สป.สธ. 2.3, 2.4 เป็น PA ของกองบริหารคลังและพัสดุ สป.สธ.

6 การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเด็น PA Financial Management การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรการที่ 3 พัฒนาศักยภาพบริหารด้านการเงินการคลังแก่เครือข่ายและบุคลากร (Network & Capacity Building) 3.1 พัฒนาศักยภาพบริหารด้านการเงินการคลังแก่ผู้เข้าสู่ตำแหน่ง ผอ.รพศ./ รพท./ รพช. และ นพ.สสจ. 3.2 พัฒนาศักยภาพบริหารด้านการเงินการคลังแก่ผู้ดำรงตำแหน่งบริหาร (นพ.สสจ./ ผอ.รพ.) 3.3 พัฒนาศักยภาพบริหารด้านการเงินการคลังแก่ CFO ระดับเขต และจังหวัด 3.4 พัฒนาศักยภาพบริหารด้านการเงินการคลังแก่เครือข่ายและบุคลากร 3.5 พัฒนาศักยภาพผู้ตรวจสอบภายใน ตามมาตรฐาน CGIA ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3.1 ร้อยละของผู้บริหารด้านการเงินการคลังได้รับการพัฒนาศักยภาพ ด้านการเงินการคลัง เพื่อเข้าสู่ตำแหน่ง ผอ.รพศ./ รพท./ รพช. และ นพ.สสจ.  ออกแบบหลักสูตร ฝึกอบรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85  ร้อยละ 90 3.2 ร้อยละของผู้ดำรงตำแหน่งบริหาร (นพ.สสจ./ ผอ.รพ.) ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการเงินการคลัง ร้อยละ 85 ร้อยละ 90  ร้อยละ 95 3.3 ร้อยละของ CFO ระดับเขตและระดับจังหวัด ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการเงินการคลัง 3.4 ร้อยละของผู้ตรวจสอบภายใน ได้รับการพัฒนาศักยภาพตามมาตรฐาน CGIA - ร้อยละ 80 เสนอให้นำเข้าในหลักสูตรของ สบช. ให้มีแหล่งข้อมูลที่สามารถเข้าถึงได้เอง  ชุดความรู้ด้านการเงินการคลัง (Basic & Advance) นำเข้าสู่เกณฑ์พื้นฐานเพื่อเข้าสู่ตำแหน่ง หมายเหตุ: 3.4 เป็น PA ของกลุ่มตรวจสอบภายใน สป.สธ.

7 มาตรการที่ 4 สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management)
ประเด็น PA Financial Management การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรการที่ 4 สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management) 4.1 กระจายอำนาจให้เขตสุขภาพบริหารจัดการ 4.2 พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการร่วม (Merging) ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 4.1 กระจายอำนาจให้เขตบริหารจัดการและปรับเกลี่ย จัดสรรวงเงินให้เขต บริหารจัดการ และปรับเกลี่ย วิกฤตการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการ ไม่เกินร้อยละ 4 4.2 พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการร่วม บริหารจัดการร่วม (Administrative merging) ให้บริการร่วม (Service merging) ใช้ระบบสนับสนุนร่วม (Support merging) ทุกเขต พิจารณา รพ.นำร่องที่มีความพร้อม แต่งตั้ง คกก. ระดับเขต และ จัดทำแผนปฏิบัติการ ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ ติดตาม กำกับ และปรับปรุงแก้ไข ประเมินผล ความสำเร็จ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 Capital Investment Efficient Management ความมั่นคง&ยั่งยืน รองรับสังคมผู้สูงอายุ 4.1 UC 4.2 บัญชี

8 การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเด็น PA Financial Management การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรการที่ 5 ติดตาม กำกับ เครื่องมือประสิทธิภาพทางการเงิน (Monitoring Management) 5.1 ควบคุมกำกับ โดยเปรียบเทียบแผนการเงินกับผลการดำเนินงาน 5.2 ควบคุมกำกับ โดยเกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน (7 plus efficiency) 5.3 ควบคุมกำกับ ด้วยเกณฑ์ประเมินต้นทุนผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน (Unit cost) 5.4 พัฒนาระบบการบริหารจัดการหน่วยบริการ ด้วยการตรวจสอบภายในและควบคุมภายใน 5.5 เฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผล ความเพียงพอของการจัดสรรเงินให้กับหน่วยบริการ ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 5.1 ร้อยละของหน่วยบริการ มีผลต่างของแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 5.2 ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน ≥ 5 ตัว (ระดับ Grade B, A-, A) จากเกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน (7 Plus Efficiency) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 65 5.3 ร้อยละของหน่วยบริการมีสัดส่วนของต้นทุนผู้ป่วยนอก และต้นทุนผู้ป่วยใน ไม่เกินค่ากลางของหน่วยบริการในกลุ่มระดับเดียวกัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 Business Plan Investment Plan

9 การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเด็น PA Financial Management การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรการที่ 5 ติดตาม กำกับ เครื่องมือประสิทธิภาพทางการเงิน (Monitoring Management) 5.1 ควบคุมกำกับ โดยเปรียบเทียบแผนการเงินกับผลการดำเนินงาน 5.2 ควบคุมกำกับ โดยเกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน (7 plus efficiency) 5.3 ควบคุมกำกับ ด้วยเกณฑ์ประเมินต้นทุนผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน (Unit cost) 5.4 พัฒนาระบบการบริหารจัดการหน่วยบริการ ด้วยการตรวจสอบภายในและควบคุมภายใน 5.5 เฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผล ความเพียงพอของการจัดสรรเงินให้กับหน่วยบริการ ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 5.4 ร้อยละของหน่วยบริการ สป.สธ. ผ่านเกณฑ์ประเมินการตรวจสอบภายใน และควบคุมภายใน ร้อยละของหน่วยบริการ สป.สธ. ผ่านเกณฑ์ประเมินการควบคุมภายในด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 5 มิติ อบรมชี้แจง แนวทางการประเมิน การควบคุมภายใน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยบริการ สป.สธ. ผ่านเกณฑ์ประเมิน การควบคุมภายใน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ร้อยละ 70 หน่วยบริการ สป.สธ. ผ่านเกณฑ์ประเมินการควบคุมภายใน ร้อยละ 80 ร้อยละของหน่วยบริการ ได้รับการตรวจสอบงบการเงิน ตามเป้าหมาย - รพศ./ รพท. = 100% - รพช. = 25% หน่วยบริการได้รับ การตรวจสอบ งบการเงิน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของเป้าหมาย การตรวจสอบ งบการเงิน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของเป้าหมาย งบการเงิน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของเป้าหมาย หน่วยบริการได้รับการตรวจสอบ งบการเงิน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 ของเป้าหมาย Business Plan Investment Plan หมายเหตุ: 5.4 เป็น PA ของกลุ่มตรวจสอบภายใน สป.สธ.

10 การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเด็น PA Financial Management การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรการที่ 5 ติดตาม กำกับ เครื่องมือประสิทธิภาพทางการเงิน (Monitoring Management) 5.1 ควบคุมกำกับ โดยเปรียบเทียบแผนการเงินกับผลการดำเนินงาน 5.2 ควบคุมกำกับ โดยเกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน (7 plus efficiency) 5.3 ควบคุมกำกับ ด้วยเกณฑ์ประเมินต้นทุนผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน (Unit cost) 5.4 พัฒนาระบบการบริหารจัดการหน่วยบริการ ด้วยการตรวจสอบภายในและควบคุมภายใน 5.5 เฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผลการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 5.5 มีรายงานผลการวิเคราะห์ด้านการเงินการคลัง (Standard Report) ระดับหน่วยบริการ จังหวัด เขต ประเทศ คณะกรรมการออกแบบและจัดทำระบบรายงานมาตรฐาน รายงานผลการวิเคราะห์ด้านการเงินการคลัง (Standard Report) และชี้เป้าหมาย ระดับหน่วยบริการ จังหวัด เขต ประเทศ ประเมินผล การวิเคราะห์ หน่วยบริการ ที่ชี้เป้าหมาย วิกฤตการเงิน ระดับ 7 ของหน่วยบริการ ไม่เกินร้อยละ 4 Business Plan Investment Plan

11 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7
ตัวชี้วัด ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7 วิกฤตทางการเงินระดับ 7 Current Ratio : CR<1.5 Cash Ratio : Cash<0.8 Net Working Capital : NWC<0 Quick Ratio : QR<1 กำไรสุทธิ (Net Income : NI<0 1.กลุ่มแสดงความคล่องตามสภาพสินทรัพย์ 2.กลุ่มแสดงความมั่นคงทางการเงิน 3. กลุ่มแสดงระยะเวลาเข้าสู่ปัญหาการเงินรุนแรง 1) NWC/ANI ระยะเวลาทุนหมุนเวียนหมด <3 เดือน* 2) NWC/ANI ระยะเวลาทุนหมุนเวียนหมด <6 เดือน

12 มาตรการที่ 2 พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management)
ที่มาของข้อมูล งบทดลองหน่วยบริการ มาตรการที่ 2 พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management) 2.1 ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบ งบทดลองเบื้องต้นจากระบบอิเล็กทรอนิกส์ มาตรการที่ 5 ติดตาม กำกับ เครื่องมือประสิทธิภาพทางการเงิน (Monitoring Management)

13 กิจกรรมหลัก ผู้รับผิดชอบ
มาตรการ (Value chain) 1. การจัดสรรเงินอย่างเพียงพอ (Sufficient Allocation) 2. พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management) 3. พัฒนาศักยภาพบริหารด้านการเงินการคลังแก่เครือข่ายและบุคลากร (Network & Capacity Building) 4. สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management) 5. ติดตาม กำกับ เครื่องมือประสิทธิภาพทางการเงิน (Monitoring Management) 1.2 จัดทำแผนทางการเงินที่มีคุณภาพ 1.3 พัฒนาประสิทธิภาพของระบบการจัดสรรเงินให้กับหน่วยบริการมีรายได้เพียงพอกับค่าใช้จ่าย 2.1 พัฒนาการบริหารระบบบัญชีให้ได้มาตรฐาน 2.2 นำเกณฑ์การประเมินคุณภาพบัญชีมาประเมิน ความถูกต้องของข้อมูล 2.3 พัฒนาการรับ – จ่ายเงินภาครัฐทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment ภาครัฐ) 3.3 พัฒนาศักยภาพบริหารด้านการเงินการคลังแก่ CFO ระดับเขต และจังหวัด 4.2พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการร่วม (Merging) 5.1 ควบคุมกำกับโดยเปรียบเทียบ แผนการเงินกับผลการดำเนินงาน 5.2 ควบคุมกำกับโดยเกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน (7 plus efficiency) 5.3 ควบคุมกำกับด้วยเกณฑ์ประเมินต้นทุนผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน (Unit cost) 5.5 เฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผลการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง กิจกรรมหลัก กศภ./ กองคลัง/ ศูนย์เทคฯ กศภ./ ตสน.สป./ สบช. กศภ. กศภ./ ตสน.สป. ผู้รับผิดชอบ

14


ดาวน์โหลด ppt ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google