งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ข้อมูลการประชุมเชิงปฏิบัติการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ข้อมูลการประชุมเชิงปฏิบัติการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อมูลการประชุมเชิงปฏิบัติการ
การพัฒนาแนวทางการดำเนินงานการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ วันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมเยาวมาลย์ ชั้น ๗ โรงแรมชากังราว

2 โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
3 สาเหตุ 1. เพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน 2. การไม่เปิดเผยว่าติดเชื้อฯ/ ไม่ว่าตนเองติดเชื้อ สถานการณ์โรคทั่วไปที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของจังหวัดกำแพงเพชร อันดับต้นๆ ได้แก่โรค อุจจาระร่วง ปอดบวม ตาแดง ฯลฯ โรคติดต่อทางการมีเพศสัมพันธ์ (S.T.D = Sexual transmited Desease) ติด 1ใน 10 โรคที่ต้องเฝ้าระวัง สาเหตุหลักคือ 1. มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน 2. ไม่เปิดเผย และไม่ทราบว่าตัวเองติดเชื้ออยู่ อัตราป่วยต่อแสนประชากร

3 สถานการณ์โรคเอดส์ ปี 2533 – 2559
พ.ศ (ยอดสะสม) รวม ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ 3,568 เสียชีวิต 1,084 คงเหลือ 2,484 กินยาต้านไวรัสฯ (ร้อยละ 84.6) 2,100 สถานการณ์โรคเอดส์ ปี 2533 – 2559 สถานการณ์โรคเอดส์ เป็นยอดสะสมตั้งแต่ปี – มีรายงานผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ทั้งหมด 3,568 ราย เสียชีวิต 1,084 ราย คงเหลือที่มีชีวิต 2,484 ราย และได้รับยาต้านไวรัส 2,100 ราย คิดเป็นร้อยละ เป้าหมายคือผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ต้องได้รับบริการดูแลรักษาเพื่อไม่ให้เสียชีวิต แต่เมื่อดูข้อมูลการเสียชีวิตในแต่ละปี พบว่ายังคงมีการเสียชีวิต และยังพบรายงานผู้ติดเชื้อเอชไอวี รายใหม่ทุกปี ปีละ 100 กว่า – 200 ราย ส่วนใหญ่ที่เสียชีวิต เนื่องจากเข้าสู่ระบบบริการตรวจเลือด และรักษาช้า เข้าบริการรักษากินยาต้านไวรัส ร้อยละ 84.6 ที่มา : ข้อมูล NAP

4 จำนวนผู้ป่วยแยกตามกลุ่มอายุและเพศ
13 จำนวนผู้ป่วยแยกตามกลุ่มอายุและเพศ จำนวนผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ มีการติดเชื้อในทุกกลุ่มอายุ กลุ่มอายุ ปี มีจำนวนผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ของกลุ่มอายุทั้งหมด แต่ การติดเชื้อ เอชไอวีนั้นจะแสดงอาการป่วยนั้นต้องใช้เวลาประมาณ 7-10 ปี ถ้าไม่มาตรวจเลือดก็จะไม่รู้ ทำให้คาดการณ์ได้ว่าเริ่มติดเชื้ออยู่ในช่วงวัยเรียน และเริ่มทำงาน

5 อัตราการติดเชื้อเอชไอวีในหญิงตั้งครรภ์ ปี 2557-2560
14 อัตราการติดเชื้อเอชไอวีในหญิงตั้งครรภ์ ปี 2557 2558 2559 2560 0.67 0.53 0.68 0.48 อัตราการติดเชื้อในหญิงตั้งครรภ์ในภาพจังหวัด ปี (ตค.59-มีค.60) ยังคงพบหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อทุกปี ปี 2559 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.53 ในปี 2558 เป็น ส่วนปี 2560 ข้อมูลถึงเดือน มี.ค. อัตราการติดเชื้อ อำเภอที่มีการติดเชื้อเอชไอวีในหญิงตั้งครรภ์ในปี 2559 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี คือ อ.ลานกระบือ ขาณุฯ เมือง คลองขลุง ส่วนในปี อัตราการติดเชื้อในหญิงตั้งครรภ์ ข้อมูล 6 เดือนแรก สูงที่บึงสามัคคี ร้อยละ รองลงมา พรานกระต่าย คลองลาน ซึ่งหญิงตั้งครรภ์ที่พบว่าติดเชื้อเอชไอวี ทาง รพ.ทุกแห่งจะมียาต้านไวรัสเอดส์ให้แม่กินตั้งแต่อายุครรภ์ได้ 28 สัปดาห์ ก็จะสามารถป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูกได้ และเด็กที่เกิดจากแม่ติดเชื้อจะมีบริการให้ยาต้านไวรัสในเด็ก และมีนมผสมให้กินฟรีจนถึงอายุ 1.6 ปี

6 สถานบริการ/โรงแรม รีสอร์ท
4 สิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมสุขภาพ สำรวจแหล่ง 2556 2557 2558 2559 2560 สถานบริการ/โรงแรม รีสอร์ท 123/120 100 /121 88/177 83/178 75/177 สถานการณ์สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมสุขภาพ ที่เอื้อต่อการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จากการสำรวจแหล่งบริการ สถานบันเทิง เช่น คาราโอเกะ ร้านอาหาร ร้านนวด และ โรงแรม รีสอร์ท ตั้งแต่ปี 2556 – พบว่าโรงแรม รีสอร์ท สถานบริการ/บันเทิง บางปีเพิ่มขึ้น บางปีลดลง จากการสอบถามพบว่าบางแห่งเปิด-ปิด ตามภาวะเศรษฐกิจ และอีกส่วนหนึ่งไม่มาจดทะเบียน แต่ถ้าจากที่เรามองเห็นพบว่าโรงแรม รีสอร์ท เพิ่มขึ้น ส่วนชื่ออาจจะเลี่ยงเป็นชื่ออื่น เช่น ห้องพัก หอพัก บ้านเช่า แต่การบริการคือให้เช่าชั่วคราว ส่วนในเรื่องของการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพจากสำรวจการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง(BSS) ซึ่ง สสจ.กพ.ดำเนินการสำรวจทุกปี ในกลุ่มนักเรียน ชาย-หญิง ชั้น ม.5 และ ปวช.2 จะสำรวจหลายเรื่อง เช่น ที่อยู่อาศัยกับใคร พฤติกรรมทางเพศ ประสบการณ์การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ความรู้ทัศนคติเกี่ยวกับโรคเอดส์ ในเรื่องการดื่มแอลกอฮอล์จะเห็นว่าเด็กมีพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ ดูได้จากในปี 2559 จะสูงมากกว่า ปี 2557 และ 2558 ที่มา: การสำรวจ BSS

7 6 ประสบการณ์เคยมีเพศสัมพันธ์ของนักเรียนชั้น ม.5 และ ปวช.2 (ร้อยละ) ปี แนวโน้มประสบการณ์เคยมีเพศสัมพันธ์ในกลุ่มเยาวชน ชาย-หญิง ในระดับอาชีวะ และมัธยม ที่ผ่านมาถึงแม้ว่าระดับอาชีวะจะมีประสบการณ์การมีเพศสัมพันธ์มากกว่าระดับมัธยม แต่ในปี 2559 ในระดับอาชีวะเคยมีเพศสัมพันธ์ลดลง แต่ในกลุ่มมัธยมเพิ่มขึ้น ที่มา: การสำรวจ BSS

8 7 อัตราการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดของนักเรียนชั้น ม.5 และ ปวช.2 (ร้อยละ) ปี เรื่องของการป้องกันโดยการใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด ปี ในกลุ่มนักเรียน ชาย-หญิง ชั้น ม.5 และ ปวช 2 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ยกเว้นนักเรียนชายชั้น ม.5 ปี 2559 ใช้ถุงยางอนามัยลดลง ส่วนในกลุ่มพนักงานบริการทั้งตรงและแฝง กลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มที่เข้าถึงยาก ไม่ยอมรับว่าทำอาชีพนี้จะปฏิเสธการให้ความรู้ การประเมินพฤติกรรมเสี่ยง ทำให้การใช้ถุงยางอนามัยเพิ่มขึ้นไม่มาก เป้าหมายคือร้อยละ 90 ขึ้นไป ส่วนใหญ่จะมีเพศสัมพันธ์กับคู่ประจำจึงไม่ป้องกัน จากการสำรวจอัตราการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ในรอบ 3 วันที่ผ่านมา มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ยังไม่มากพอที่จะป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ทุกกลุ่มมีการป้องกันตนเองน้อยเพราะกลัวแฟนไม่รัก เป็นแฟนขาประจำ ความไว้ใจ ไม่กล้าพกถุงยางอนามัย ไม่มีทักษะต่อรอง/ปฏิเสธ เป้าหมายอัตราการใช้ถุงยางอนามัยคือต้องให้ได้ 100 %

9 อัตราป่วยกามโรคต่อแสนประชากร
8 อัตราป่วยกามโรคต่อแสนประชากร Baseline 2556 2557 2558 2559 2560 อัตราป่วย (ทุกกลุ่มวัย) 24.33 32.53 23.28 21.91 26.43 อัตราป่วยกามโรค ปี จำแนกรายอำเภอ จากสภาพแวดล้อมและพฤติกรรมสุขภาพ ที่ไม่ได้ป้องกัน ทำให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยเฉพาะกามโรคเป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ (ซิฟิลิส หนองใน แผลริมอ่อน กามโรคต่อมน้ำเหลือง/ฝีมะม่วง )เช่นเดียวกับโรคเอดส์ แต่กามโรคสามารถรักษาให้หายขาดได้ และเป็นกลุ่มโรคที่ใช้เป็นการคาดการณ์แนวโน้มการติดเชื้อเอชไอวี อัตราป่วยกามโรคตั้งแต่ปี ภาพรวมในทุกกลุ่มวัยปี มีแนวโน้มลดลง ซึ่งข้อมูลบางส่วนจะไปรักษาตามคลินิกหรือไปซื้อยากินเองเพราะอายที่จะไปรักษาที่ รพ. ส่วนนี้จะไม่ได้รับรายงาน

10 อัตราป่วยหนองใน ต่อแสนประชากร 2555-2559
เป้าหมาย ไม่เกิน 8.0 อัตราป่วยโรคหนองใน ปี แยกกลุ่มอายุ กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ใน 5 โรคหลัก ที่พบมากอัตราป่วยมากที่สุด คือโรค หนองใน ตั้งแต่ปี 2557 – 2559 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เป้าหมายไม่เกิน 8 ต่อแสนประชากร และเมื่อแยกกลุ่มอายุ พบว่ากลุ่มอายุ ปี มีอัตราป่วยมากกว่ากลุ่มอายุอื่น ที่มา: รายงาน 506

11 จำนวนผู้ป่วยซิฟิลิส ปี 2560 เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี

12 จำนวนผู้ป่วยหนองใน ปี 2560 เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี

13 จำนวนผู้ป่วยหนองในเทียม ปี 2560 เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี

14 จำนวนผู้ป่วยซิฟิลิส ปี 2560 แยกกลุ่มอายุ
จำนวนผู้ป่วยซิฟิลิส ปี แยกกลุ่มอายุ

15 อัตราป่วยซิฟิลิส ปี 2560 แยก รายอำเภอ
อัตราป่วยซิฟิลิส ปี 2560 แยก รายอำเภอ

16 จำนวนผู้ป่วยซิฟิลิส ปี 2560 แยกอาชีพ

17 จำนวนผู้ป่วยหนองใน ปี 2560 แยกอาชีพ
จำนวนผู้ป่วยหนองใน ปี 2560 แยกอาชีพ

18 อัตราป่วยหนองใน ปี 2560 แยก รายอำเภอ
อัตราป่วยหนองใน ปี 2560 แยก รายอำเภอ

19 อัตราป่วยหนองในเทียม ปี 2560 แยกรายอำเภอ
อัตราป่วยหนองในเทียม ปี แยกรายอำเภอ

20 จำนวนผู้ป่วยหนองในเทียม แยกกลุ่มอายุ

21 จำนวนผู้ป่วยหนองในเทียม ปี 2560 แยกอาชีพ
จำนวนผู้ป่วยหนองในเทียม ปี 2560 แยกอาชีพ


ดาวน์โหลด ppt ข้อมูลการประชุมเชิงปฏิบัติการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google