การทบทวนวรรณกรรม และการสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การทบทวนวรรณกรรม และการสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การทบทวนวรรณกรรม และการสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย
KHANTHONG JAIDEE, Ph.D.

2 ผลลัพธ์ที่ต้องการจากการศึกษาวิชานี้
มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการวิจัย สามารถออกแบบการวิจัยได้ Sample Approach Instrumental Approach Analysis Approach (แสดงให้เห็นได้จากการสอบ) มีโครงร่างงานวิจัย (เต็มรูปแบบ) ประกอบด้วย 3 บท พร้อมเครื่องมือ (แสดงให้เห็นได้จากการทำรายงาน)

3 ผลลัพธ์จากการเรียนระดับบัณฑิตศึกษา
เริ่มต้นทำวิทยานิพนธ์ คนใหม่ เทคนิควิธี แหล่งข้อมูล การจัดการกับอาจารย์ที่ปรึกษา ผู้รู้ในวงการ ผลงานวิจัย กระบวนการ(Process)สำคัญกว่าผลลัพธ์(output)

4 ความหมายการวิจัยของประเทศไทย
การวิจัยคือการค้นคว้า สอบสวน และเสนอผลของทางวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ในสาขาวิชาการตามพระราชบัญญัติสภาวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2502 วิจัยคือ การค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2542) การวิจัย คือ กระบวนการสร้างความรู้อย่างเป็นระบบ

5 ข้อมูล (Data) 5

6 150 ราคา เวลา 2570

7 ข้อมูล กระบวนการวิจัย วิเคราะห์ สารสนเทศ วิเคราะห์+สังเคราะห์ ความรู้
(Data) กระบวนการวิจัย วิเคราะห์ สารสนเทศ (Information) วิเคราะห์+สังเคราะห์ ความรู้ (Knowledge) ปัญญา (Wisdom) 7

8

9 สัญญา ปัญญา แก้ปัญหาได้ รู้แจ้ง – เห็นจริง (Insight) ภาวนามยปัญญา
Wisdom Knowledge แก้ปัญหาได้ รู้แจ้ง – เห็นจริง (Insight) ภาวนามยปัญญา Information กำหนดได้ หมายรู้ วิเคราะห์ได้ (Analysis) ใช้ทฤษฎี (Theory) มีประสบการณ์ (Experience) จินตามยปัญญา Data จำได้ หมายรู้ อ่านมาก - ฟังมาก เห็นมาก - รู้มาก สุตมยปัญญา __________________________________________________________________________________ สรรพสิ่งที่เป็นจริง ความเป็นจริงที่รู้ เปิดใจสู่การรับรู้ สัญญา จำได้หมายรู้ คือผู้มี คิดได้ทำเป็น คือผู้เห็น 9 ปัญญา 9 9 9

10 คำถามสำคัญที่ต้องตอบ สำหรับการทำดุษฎีนิพนธ์
ทำไมจึงทำวิจัยเรื่องนี้ (Why doing this research topic?) ผู้วิจัยต้องการค้นหาอะไร (What to do ?) หรือต้องการคำตอบอะไร ผู้วิจัยจะศึกษาอย่างไร (How to do ?) หรือหาคำตอบมาได้อย่างไร

11 ความเชื่อมโยงต่อเนื่องในโครงการ

12 สามมิติในการพิจารณาคุณค่างานวิจัย
Z (ประโยชน์) มาก Y (วิธีการ) X (ความรู้) ยาก ข้อความเฉพาะ-กฎ-ทฤษฎี น้อย ง่าย

13 มิติทางความรู้ (Epistemology Research)
ข้อความเฉพาะ (Particular) เป็นข้อความที่กล่าวถึงสภาพการณ์หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสถานที่จำกัด ในเวลาจำกัดและสำหรับสิ่งที่จำกัด น้ำในแก้วนี้เดือดที่ 100 องศาเซลเซียส บนโต๊ะผมเมื่อเวลา น.วันนี้ กฎ (Law) เป็นข้อความที่กล่าวถึงสภาพการณ์หรือเหตุการณ์ในธรรมชาติที่มีขอบเขตของ ก)สถานที่ ข) เวลา ค) สิ่งที่กล่าวถึงอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างกว้างขวางออกไปมากกว่าข้อความเฉพาะ น้ำบริสุทธิ์ใด ๆ ที่ตั้ง ฌ ที่ใด ๆ ที่มีความดัน 1 บรรยากาศ จะเดือดที่ 100 องศาเซลเซียส ไม่ว่าจะเป็นเวลาใด ๆ ทฤษฎี (Theory) เป็นข้อความหรือกลุ่มของข้อความที่ใช้อธิบายและทำนายกฎต่าง ๆ การอธิบายหรือทำนายนั้น จะต้องใช้วิธีการนิรนัย (Deduction)

14 มิติทางวิธีการ วิธีการที่ได้มาซึ่งความรู้เมื่อเทียบกับอีกบางชิ้นอาจจะต้อง... ลงทุนลงแรงมากกว่า ใช้เวลามากกว่า สร้างเครื่องมือหรือเครื่องจักรกลที่ซับซ้อนมากกว่า ใช้สถิติหรือคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อนมากกว่า (อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายข้อรวมกัน)

15 มิติทางประโยชน์ ความรู้ที่ได้จากการวิจัย ใช้ประโยชน์สำหรับชุมชน สังคม มากน้อยเพียงใด.....หากไม่มีความรู้นี้ จะเป็นอะไรหรือไม่

16 แบบฝึกหัดก่อนเรียน 1.ชื่อนักศึกษา รหัส 2.ชื่อวิทยานิพนธ์ที่นักศึกษาเคยทำในระดับปริญญาโท 3.หัวข้อ/ประเด็นที่นักศึกษาตั้งใจทำเป็นดุษฎีนิพนธ์ (ไม่มี ไม่ต้องตอบข้ออื่น) 4.คำนิยามของหัวข้อ/ประเด็น 5.องค์ประกอบของหัวข้อ/ประเด็น 6.ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องและอธิบายปรากฏการณ์นี้ (ระบุชื่อทฤษฎีและเจ้าของทฤษฎี) 7.งานวิจัยที่นักศึกษาเคยศึกษามาเกี่ยวกับประเด็น/หัวข้อนี้ (ระบุชื่องานวิจัย/เจ้าของงานวิจัย) 8.หนังสือที่นักศึกษาเคยอ่านหรือเคยศึกษามา (ระบุชื่อหนังสือ/ผู้แต่ง)

17 การทำวิจัย...เราศึกษาอะไร???
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น !! ไม่ว่านักวิจัยจะทำการวิจัยเรื่องอะไร เป้าประสงค์ของนักวิจัยก็คือ ต้องการทำความเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่า ปรากฏการณ์ (Phenomenon) ที่ตนศึกษานั้น “เกิดขึ้น” ได้อย่างไร มีเงื่อนไขอะไรบ้างที่เกื้อหนุนทำให้ปรากฏการณ์ดังกล่าวนั้น “เกิดขึ้น”

18 “เกิดขึ้น” คำว่า “เกิดขึ้น” นี้ เป็นคำกลาง ๆ นำมาใช้เพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจเท่านั้น เพราะในความเป็นจริงแล้ว ปรากฏการณ์ที่เราต้องการศึกษาวิจัยนั้น อาจจะมิใช่ภาวการณ์เกิดขึ้นแต่ประการเดียว แต่หมายรวมถึง ภาวการณ์ดำรงอยู่ ภาวการณ์เปลี่ยนแปลง ตลอดจน ภาวะล่มสลาย ของปรากฏการณ์นั้น ๆ และปรากฏการณ์ที่กล่าวถึงนี้ ก็เป็นปรากฏการณ์ทางสังคม ปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจ ปรากฏการณ์ทางการเมืองและสังคมอื่น ๆ ของมนุษย์หรือสังคมมนุษย์

19 คำถามการวิจัยทางสังคมศาสตร์
ปรากฏการณ์ ก. เป็นอย่างไร ? เพราะเหตุใดปรากฏการณ์ ก.จึงเกิดขึ้น ? หรือ ปรากฏการณ์ก.เกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขอะไรบ้าง ? หรือ มีเงื่อนไขอะไรบ้างที่เกื้อหนุนให้เกิดปรากฏการณ์ ก.เกิดขึ้น ?

20 การเกิดขึ้นของปรากฏการณ์ในสังคม
หลักอิทัปปัจจัยตา เพราะเหตุนี้ ๆ จึงเป็นไป.... ธรรมชาติของสิ่งทั้งหลายจะเป็นกระแสแห่งปัจจัยหนุนเนื่องกันเช่นนี้ ไม่มีอะไรในโลกนี้ที่อยู่โดด ๆ โดยไม่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสิ่งอื่น หรือพูดอีกนัยหนึ่งก็คือ การ “เกิดขึ้น” ของสิ่งใดหรือปรากฏการณ์ใดก็ตามย่อมมีเหตุและปัจจัยเกื้อหนุน สิ่งที่นักวิจัยต้องกระทำคือ... ค้นหาสาเหตุและปัจจัยสืบเนื่องที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์ที่ตนศึกษาวิจัย

21 คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตหรือ ย่อในภาษาอังกฤษว่า QOL/คิวโอแอล โดยทั่วไป หมายถึง ภาวะความเป็นอยู่ที่ดี (Well being) ทั้งของตนเอง (ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ) และของสังคม ทั้งนี้ครอบคลุมไปถึง ความปลอดภัย สิทธิ และเสรีภาพ

22 เครื่องมือวัดคุณภาพชีวิต
จะประกอบด้วยองค์ประกอบของคุณภาพชีวิต 4 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านร่างกาย (physical domain) คือ การรับรู้สภาพทางด้านร่างกายของบุคคล ซึ่งมีผลต่อชีวิตประจำวัน เช่น การรับรู้สภาพความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกาย การรับรู้ถึงความรู้สึกสุขสบาย ไม่มีความเจ็บปวด การรับรู้ถึงความสามารถที่จะจัดการกับความเจ็บปวดทางร่างกายได้ การรับรู้ถึงพละกำลังในการดำเนินชีวิตประจำวัน การรับรู้ถึงความเป็นอิสระที่ไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่น การรับรู้ถึงความสามารถในการเคลื่อนไหวของตน การรับรู้ถึงความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของตน การรับรู้ถึงความสามารถในการทำงาน การรับรู้ว่าตนไม่ต้องพึ่งพายาต่าง ๆ หรือการรักษาทางการแพทย์ อื่น ๆ เป็นต้น

23 เครื่องมือวัดคุณภาพชีวิต
2. ด้านจิตใจ (psychological domain) คือ การรับรู้สภาพทางจิตใจของตนเอง เช่น การรับรู้ความรู้สึกทางบวกที่บุคคลมีต่อตนเอง การรับรู้ภาพลักษณ์ของตนเอง การรับรู้ถึงความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง การรับรู้ถึงความมั่นใจในตนเอง การรับรู้ถึงความคิด ความจำ สมาธิ การตัดสินใจ และความสามารถในการเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ของตน การรับรู้ถึงความสามารถในการจัดการกับความเศร้า หรือกังวล การรับรู้เกี่ยวกับความเชื่อต่าง ๆ ของตน ที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต เช่น การรับรู้ถึงความเชื่อด้านวิญญาณ ศาสนา การให้ความหมายของชีวิต และความเชื่ออื่น ๆ ที่มีผลในทางที่ดีต่อการดำเนินชีวิต มีผลต่อการเอาชนะอุปสรรค เป็นต้น

24 เครื่องมือวัดคุณภาพชีวิต
3. ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม (social relationships) คือ การรับรู้เรื่องความสัมพันธ์ของตนกับบุคคลอื่น การรับรู้ถึงการที่ได้รับความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นในสังคม การรับรู้ว่าตนได้เป็นผู้ให้ความช่วยเหลือบุคคลอื่นในสังคมด้วย รวมทั้งการรับรู้ในเรื่องอารมณ์ทางเพศ หรือการมีเพศสัมพันธ์ 4. ด้านสิ่งแวดล้อม (environment) คือ การรับรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต เช่น การรับรู้ว่าตนมีชีวิตอยู่อย่างอิสระ ไม่ถูกกักขัง มีความปลอดภัยและมั่นคงในชีวิต การรับรู้ว่าได้อยู่ในสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ดี ปราศจากมลพิษต่าง ๆ การคมนาคมสะดวก มีแหล่งประโยชน์ด้านการเงิน สถานบริการทางสุขภาพและสังคมสงเคราะห์ การรับรู้ว่าตนมีโอกาสที่จะ ได้รับข่าวสาร หรือฝึกฝนทักษะต่าง ๆ การรับรู้ว่าตนได้มีกิจกรรมสันทนาการ และมีกิจกรรมใน เวลาว่าง เป็นต้น

25 การทบทวนวรรณกรรม การทบทวนวรรณกรรม หมายถึง การค้นคว้า ศึกษา รวบรวมและประมวลผลงานทางวิชาการ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทำวิจัยทำให้ทราบถึง ปัญหาวิจัย การออกแบบวิจัย ทฤษฎี แนวคิด กรอบแนวคิด สมมติฐาน ตัวแปร เครื่องมือวิจัย การสร้างและการตรวจสอบคุณภาพ ประชากร กลุ่มตัวอย่างและการเลือก/สุ่มตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย

26 ผลที่ได้รับจากการทบทวนวรรณกรรม
บทความ ปริทัศน์ บททบทวน วรรณกรรม งานวิจัย บทความวิจัย

27 องค์ประกอบทความปริทัศน์
ชื่อเรื่อง (title) บทคัดย่อ หรือเรื่องย่อ (Summary) คำนำ (introduction) เนื้อเรื่อง (text)จัดแบ่งโครงสร้างให้ง่ายต่อความเข้าใจ แยกประเด็น หรือลำดับเหตุการณ์ วิเคราะห์ วิจารณ์ หรือเปรียบเทียบให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องนั้น ๆ ง่ายขึ้น เอกสารอ้างอิง (reference)

28 ตัวอย่าง

29 การตั้งประเด็นในการทบทวนวรรณกรรม
ความหมายและความสำคัญของ...(ตัวแปรตาม)... ประเภท/องค์ประกอบของ...(ตัวแปรตาม)... ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ...(ตัวแปรตาม)... (นิยามความหมาย/องค์ประกอบของปัจจัยต่างๆ) บริบทของกลุ่มตัวอย่าง/กลุ่มเป้าหมาย งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ...(ตัวแปรตาม)... ผลลัพ์สุดท้าย จะนำไปสู่กรอบแนวคิดในการวิจัย

30 การทบทวนในประเด็นต่อมา
1.แนวคิดทฤษฎี 2.ปัจจัยที่ส่งผล/เป็นสาเหตุต่อตัวแปรตาม 3.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบ 1 องค์ประกอบ 2 ตัวแปรต้น องค์ประกอบ 3 ตัวแปรตาม องค์ประกอบ 4 องค์ประกอบ 5 องค์ประกอบ 6 สิ่งที่จะได้รับ

31 ตัวแปรต้น ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรต้น ตัวแปรต้น ตัวแปรต้น
องค์ประกอบ 1 องค์ประกอบ 2 ตัวแปรต้น องค์ประกอบ 3 ตัวแปรตาม องค์ประกอบ 4 องค์ประกอบ 5 ตัวแปรต้น องค์ประกอบ 6 ตัวแปรต้น ตัวแปรต้น

32 ประเด็นการทบทวนวรรณกรรมต่อไป
ความหมาย/แนวคิด/องค์ประกอบของตัวแปรต้น ตัวแปรต้น องค์ประกอบ 1 องค์ประกอบ 2 ตัวแปรต้น องค์ประกอบ 3 ตัวแปรตาม องค์ประกอบ 4 องค์ประกอบ 5 ตัวแปรต้น องค์ประกอบ 6 ตัวแปรต้น ตัวแปรต้น

33 กรอบแนวคิดในการวิจัย
 การสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย เป็นขั้นตอนของการนำเอาตัวแปรและประเด็นที่ต้องการทำวิจัยมาเชื่อมโยงกับแนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้องในรูปของคำบรรยาย แบบจำลองแผนภาพหรือแบบผสมการวาง กรอบแนวคิดในการวิจัยที่ดี จะต้องชัดเจน แสดงทิศทางของความสัมพันธ์ ของสิ่งที่ต้องการศึกษา หรือตัวแปรที่จะศึกษา สามารถใช้เป็นกรอบในการกำหนดขอบเขตของการวิจัย การพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย รูปแบบการวิจัย ตลอดจนวิธีการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล .....

34 Conceptual Framework ตัวแปรพื้นฐาน ตัวแปรตาม ตัวแปรจัดกระทำ

35 ความหมายของกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดการวิจัย  หมายถึง  กรอบของการวิจัยในด้านเนื้อหาสาระ  ซึ่งประกอบด้วยตัวแปร  และการระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร  ในการสร้างกรอบแนวคิดการวิจัย  ผู้วิจัยจะต้องมีกรอบพื้นฐานทางทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่ศึกษาและมโนภาพ(concept)ในเรื่องนั้น  แล้วนำมาประมวลเป็นกรอบในการกำหนดตัวแปรและรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ  ในลักษณะของกรอบแนวคิดการวิจัยและพัฒนาเป็นแบบจำลองในการวิจัยต่อไป

36 กรอบแนวความคิดในการวิจัย
ตัวแปรอิสระ X1 X2 X3 X4 X5 . Xn ตัวแปรตาม Y แยกออกเป็น Y1 Y2 Y3 การแบ่งตัวแปรตาม ออกเป็น 3 ด้านย่อยนั้น ใช้หลักการหรือ ทฤษฎีใดรองรับ มีงานวิจัยหรือทฤษฎีอะไรที่ยืนยันว่า X แต่ละตัวมีความสัมพันธ์กับ Y

37 การทบทวนเอกสาร งานวิจัย
ตัวแปรตาม แนวคิดและวิธีการวัดจากการศึกษา แนวคิดที่ผู้วิจัยคิดว่าควรจะเป็นสำหรับการวิจัยครั้งนี้ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 คุณภาพชีวิตในการทำงาน 1. 2. 3. 4. 5.

38 การสร้างตารางความสัมพันธ์ตัวแปรอิสระ/ตาม
ผู้วิจัย เพศ อายุ กศ. สถานภาพ ราย ได้ ข่าว สาร สมาชิกชุมชน ติด ตาม ร่วมประชุม ฤๅเดช * อัษฎางค์ หควณ กมล รัฐพงศ์ สุกัญญา วินิจ ฯลฯ

39 ความสำคัญ 1. ทำให้ผู้วิจัยทราบว่าในการวิจัยครั้งนั้นมีตัวแปรอะไรบ้างที่จะศึกษา ตัวแปรเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ทางตรงหรือทางอ้อม 2. ทำให้ทราบว่าจะเก็บข้อมูลโดยใช้วิธีใดจึงจะเหมาะสมกับตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย เช่น ควรเลือกใช้วิธีสังเกต สัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น ๆ 3. การระบุตัวแปรที่ต้องการศึกษาจะทาให้ทราบว่าจะออกแบบการวิจัยอย่างไรจึงจะเหมาะสม เพราะตัวแปรแต่ละตัวอาจมีวิธีการวัดที่แตกต่างกันออกไป ตัวแปรบางตัวต้องอาศัยการทดลอง หรือตัวแปรบางตัวต้องอาศัยการเก็บข้อมูลมากกว่าหนึ่งครั้ง

40 ความสำคัญ 4.เมื่อดูจากระดับตัวแปร และรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร จะทำให้ผู้วิจัยทราบว่าควรใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร 5.โมเดลการวิจัยจะช่วยให้สามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล ซึ่งจะช่วยในการตีความหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าผลการวิจัยเป็นไปตามโมเดลที่สร้างไว้แต่ถ้าผลการวิจัยไม่สอดคล้องโมเดลการวิจัย ผู้วิจัยควรหาเหตุผลอื่นมาสนับสนุนผลการวิเคราะห์

41 แหล่งที่มาของกรอบแนวคิดการวิจัย
ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง กรอบแนวคิดของผู้วิจัยเองที่สังเคราะห์ขึ้นเอง นอกจากการศึกษาผลงานวิจัยและทฤษฎีต่างๆที่เกี่ยวข้องแล้ว กรอบแนวคิดยังจะได้มาจากความคิดและประสบการณ์การทำงานของผู้วิจัยเองอีกด้วย

42 ตัวอย่างการทบทวนเอกสาร
ตัวอย่างการทบทวนวรรณกรรม งานวิจัยเกี่ยวกับ การมีส่วนร่วม

43 โคเฮนแอนด์อัพฮอฟฟ์ 1.การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (decision - making) ซึ่งเป็นการตัดสินใจในการดำเนินกิจกรรมตั้งแต่ระยะเริ่มต้น 2.การมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม (implementation) เป็นการเข้าร่วมโดยการสนับสนุนทางด้านทรัพยากร การเข้าร่วมในการบริหาร และการเข้าร่วมในการร่วมแรงร่วมใจ 3.การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ (benefits) โดยอาจจะเป็นผลประโยชน์ทางวัตถุ ทางสังคม หรือโดยส่วนตัว 4.การมีส่วนร่วมในการประเมินผล (evaluation) ซึ่งเป็นการควบคุมและตรวจสอบการดำเนินกิจกรรม รวมทั้งเป็นการแสดงถึงการปรับตัวในการมีส่วนร่วมต่อไป

44 ประชัย ศรีจามร (2549, บทคัดย่อ)
ประชัย ศรีจามร (2549, บทคัดย่อ) การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการปลูกป่าภาครัฐ กรณีศึกษาตำบลป่าอ้อนดอนชัย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน ทั้งในด้านการร่วมวิเคราะห์ปัญหา การร่วมวางแผนการดำเนินการ การร่วมมือปฏิบัติงาน และการร่วมติดตามและประเมินผลการดำเนินงานอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างสูง ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน ได้แก่ อายุ อาชีพ รายได้ ความคิดเห็นต่อการปลูกป่า การสนับสนุนของชุมชนและการเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม

45 กรอบแนวคิดในการวิจัย
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม 1.อายุ 2.อาชีพ 3.รายได้ 4.ความคิดเห็นต่อ.... 5.การสนับสนุนของชุมชน 6.การเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม การมีส่วนร่วม 1.ร่วมวิเคราะห์ปัญหา 2.ร่วมวางแผนการดำเนินการ 3.ร่วมมือปฏิบัติงาน 4.ร่วมติดตามและประเมินผล

46 บรรพต ประยูรวงษ์ (2544, บทคัดย่อ)
บรรพต ประยูรวงษ์ (2544, บทคัดย่อ) การมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล : ศึกษากรณีอำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี เพศ ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ ความคิดเห็นที่มีต่อการดำเนินงานของ อบต. และการได้รับข้อมูลข่าวสาร เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าไปมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของ อบต.

47 กรอบแนวคิดในการวิจัย
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม 1.อายุ 2.อาชีพ 3.รายได้ 4.ความคิดเห็นต่อ.... 5.การสนับสนุนของชุมชน 6.การเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม การมีส่วนร่วม 1.ร่วมวิเคราะห์ปัญหา 2.ร่วมวางแผนการดำเนินการ 3.ร่วมมือปฏิบัติงาน 4.ร่วมติดตามและประเมินผล เพศ ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ การได้รับข้อมูลข่าวสาร

48 กรอบแนวคิดในการวิจัย
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม 1.เพศ 2.อายุ 3.อาชีพ 4.รายได้ 5.ความคิดเห็นต่อ.... 6.การสนับสนุนของชุมชน 7.การเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม 8.ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ 9.การได้รับข้อมูลข่าวสาร การมีส่วนร่วม 1.ร่วมวิเคราะห์ปัญหา 2.ร่วมวางแผนการดำเนินการ 3.ร่วมมือปฏิบัติงาน 4.ร่วมติดตามและประเมินผล

49 สุนทร กองทรัพย์ (2548, บทคัดย่อ)
สุนทร กองทรัพย์ (2548, บทคัดย่อ) การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบล : กรณีศึกษาตำบลท่าอิฐ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน คือ ระดับการศึกษา สถานภาพการสมรส รายได้ การได้รับข้อมูลข่าวสาร จำนวนการเข้าร่วมกิจกรรม และความคิดเห็นต่อองค์การบริหารส่วนตำบล

50 กรอบแนวคิดในการวิจัย
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม 1.เพศ 2.อายุ 3.อาชีพ 4.รายได้ 5.ความคิดเห็นต่อ.... 6.การสนับสนุนของชุมชน 7.การเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม 8.ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ 9.การได้รับข้อมูลข่าวสาร ระดับการศึกษา สถานภาพการสมรส จำนวนการเข้าร่วมกิจกรรม การมีส่วนร่วม 1.ร่วมวิเคราะห์ปัญหา 2.ร่วมวางแผนการดำเนินการ 3.ร่วมมือปฏิบัติงาน 4.ร่วมติดตามและประเมินผล

51 กรอบแนวคิดในการวิจัย
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม 1.เพศ 2.อายุ 3. ระดับการศึกษา 4. สถานภาพการสมรส 5.อาชีพ 6.รายได้ 7.ความคิดเห็นต่อ.... 8.การสนับสนุนของชุมชน 9.การเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม 10.ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ 11.การได้รับข้อมูลข่าวสาร 12. จำนวนการเข้าร่วมกิจกรรม การมีส่วนร่วม 1.ร่วมวิเคราะห์ปัญหา 2.ร่วมวางแผนการดำเนินการ 3.ร่วมมือปฏิบัติงาน 4.ร่วมติดตามและประเมินผล

52 ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการทำงานและ ประสบการณ์จากการทำงาน กับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานหอการค้าไทย สุรีย์ทิพย์ จันมี

53 การสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย
ลักษณะส่วนบุคคล ตัวแปรที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การ - เพศ - อายุ - การศึกษา - สถานภาพสมรส - ระยะเวลาการทำงานในองค์การ -ระดับตำแหน่งงาน -รายได้ -ความมีอิสระในการทำงาน -ความก้าวหน้าในการทำงาน -งานที่มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น - ผลป้อนกลับของงาน -ความรู้สึกว่าตนมีความสำคัญต่อองค์การ -ความรู้สึกว่าองค์การเป็นที่พึ่งพิงได้ -ความคาดหวังที่จะได้รับการตอบสนอง จากองค์การ ลักษณะงาน ประสบการณ์ที่ได้รับจากการทำงานในองค์การ

54 ตัวอย่าง ตัวแปรอิสระ 1. ปัจจัยส่วนบุคคล 1.1 เพศ 1.2 อายุ
1.3 ระดับการศึกษา 1.4 สถานภาพการสมรส 1.5 ระยะเวลาการทำงานในองค์การ 1.6 ระดับตำแหน่งงาน ตัวแปรตาม ความผูกพันต่อองค์การ 1.ความเชื่อมั่นและยอมรับในเป้าหมาย และค่านิยมขององค์การ 2. ความเต็มใจที่จะใช้ความพยายาม อย่างเต็มกำลังความสามารถ เพื่อประโยชน์ขององค์การ 3. ความต้องการที่จะคงอยู่ เป็นสมาชิกภาพขององค์การต่อไป 2. ลักษณะของงานที่ปฏิบัติ 2.1 ความมีอิสระในการทำงาน 2.2 ความหลากหลายของงาน 2.3 ความมีเอกลักษณ์ของงาน 2.4 งานที่มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น 2.5 ผลป้อนกลับของงาน 3. ประสบการณ์ที่ได้รับจากการทำงานในองค์การ 3.1 ความรู้สึกว่าตนมีความสำคัญต่อองค์การ 3.2 ความรู้สึกว่าองค์การเป็นที่พึ่งพิงได้ 3.3 ความคาดหวังที่จะได้รับการตอบสนองจากองค์การ 3.4 ทัศนคติต่อเพื่อนร่วมงานและองค์การ

55 กรอบแนวคิดในการวิจัย
การอบรมเลี้ยงดู พฤติกรรมทางสังคม แบบบังคับ แบบตามใจ สุขภาพจิต แบบเอาใจใส อัตลักษณ์ตนเอง แบบปล่อยปละละเลย ความสัมพันธ์ระหว่างวิธีการเลี้ยงดูของพ่อแม่/ผู้ปกครอง พฤติกรรมทางสังคม อัตลักษณ์ตนเอง กับสุขภาพจิตของวัยรุ่นชายรักชาย ของไชโย นิธิอุบัติ

56 3. การทบทวนวรรณกรรม 150 เรื่อง
16 เรื่อง 31 เรื่อง ความทันสมัยของครัวเรือน (MODERN) การใช้ภาษาไทย (THAILANG) การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร (INFORM) การเข้าถึงชุมชนอื่น (ACCESS) 29 เรื่อง เพศ (GENDER) การเห็นคุณค่า (VALUE) ความรู้สึกผูกพัน (AFFECT) ความเข้าใจ (UNDERSTA) ความพยายามที่จะทำ (CONATIVE) ทัศนคติต่อปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (AITITUDE) อายุ (AGE) คุณลักษณะส่วนบุคคล (PERSONAL) การศึกษา (EDU) อาชีพ (OCCUP) รายได้ (INCOME) สุขภาพอนามัยที่ดี (HEALTH) คุณภาพชีวิตของสมาชิกในครัวเรือน (QOL) ชีวิตอบอุ่น (WARM LIFE) การสนับสนุนการประชาสัมพันธ์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง(PUBLISUP) ความพึงพอใจในการดำรงชีวิตของสมาชิกในครัวเรือน (SATISFY) การสนับสนุนการพัฒนาครัวเรือนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (DEVELSUP) การสนับสนุนด้านวิชาการ (ACADESUP) พฤติกรรมการพัฒนาครัวเรือนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง (SUFBEHAV) ครัวเรือนมีการออมทรัพย์ (SAVING) ครัวเรือนมีอาชีพเสริม (SUPOCCU) ครัวเรือนปลูกพืชผักสวนครัว (GARDEN) ครัวเรือนมีการสืบทอดและใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น (WISDOM) ครัวเรือนมีความเอื้ออารีต่อกัน (LOVE) ครัวเรือนใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน (SUSTAIN) 16 เรื่อง การสนับสนุนกระบวนการกลุ่ม (GROUPSUP) การสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานการดำรงชีวิต (BASICSUP) ดิเรก ก้อนกลีบ 14 เรื่อง 44 เรื่อง

57 4. กรอบแนวความคิดและสมมติฐานการวิจัย
ความทันสมัยของครัวเรือน (MODERN) การใช้ภาษาไทย (THAILANG) การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร (INFORM) การเข้าถึงชุมชนอื่น (ACCESS) เพศ (GENDER) การเห็นคุณค่า (VALUE) ความรู้สึกผูกพัน (AFFECT) ความเข้าใจ (UNDERSTA) ความพยายามที่จะทำ (CONATIVE) ทัศนคติต่อปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (AITITUDE) อายุ (AGE) คุณลักษณะส่วนบุคคล (PERSONAL) การศึกษา (EDU) อาชีพ (OCCUP) รายได้ (INCOME) สุขภาพอนามัยที่ดี (HEALTH) คุณภาพชีวิตของสมาชิกในครัวเรือน (QOL) ชีวิตอบอุ่น (WARM LIFE) การสนับสนุนการประชาสัมพันธ์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง(PUBLISUP) ความพึงพอใจในการดำรงชีวิตของสมาชิกในครัวเรือน (SATISFY) การสนับสนุนการพัฒนาครัวเรือนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (DEVELSUP) การสนับสนุนด้านวิชาการ (ACADESUP) พฤติกรรมการพัฒนาครัวเรือนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง (SUFBEHAV) ครัวเรือนมีการออมทรัพย์ (SAVING) ครัวเรือนมีอาชีพเสริม (SUPOCCU) ครัวเรือนปลูกพืชผักสวนครัว (GARDEN) ครัวเรือนมีการสืบทอดและใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น (WISDOM) ครัวเรือนมีความเอื้ออารีต่อกัน (LOVE) ครัวเรือนใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน (SUSTAIN) การสนับสนุนกระบวนการกลุ่ม (GROUPSUP) การสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานการดำรงชีวิต (BASICSUP)

58 ภาพ 1 ค่าสถิติการวิเคราะห์ฯ แบบจำลองสมการโครงสร้าง ก่อนปรับปรุง

59 ภาพ 2 ค่าสถิติการวิเคราะห์ฯ แบบจำลองสมการโครงสร้าง หลังปรับปรุง

60 ความสำเร็จของอาชีพผู้บริหารสตรี ในสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ดร.นิพนธ์ ศศิธรเสาวภา

61 สมมติฐานการวิจัย สมมติฐานที่ 1 คุณลักษณะทุนมนุษย์ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล (IV1) บุคลิกภาพ(IV2) และสถานภาพครอบครัว (IV3) มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในอาชีพด้านวัตถุวิสัย (DV1) สมมติฐานที่ 2 คุณลักษณะทุนมนุษย์ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล (IV1) บุคลิกภาพ (IV2) และสถานภาพครอบครัว (IV3) มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในอาชีพด้านจิตวิสัย (DV2) สมมติฐานที่ 3 คุณลักษณะทุนมนุษย์ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล (IV1) บุคลิกภาพ (IV2) และสถานภาพครอบครัว (IV3) มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในอาชีพด้านวัตถุวิสัย (DV1) และด้านจิตวิสัย (DV2)

62 กรอบแนวคิดในการวิจัย
คุณลักษณะส่วนบุคคล (Human Characteristic) การศึกษา (Education) ประสบการณ์ทำงาน (Experience) สถานภาพสมรส (Marital) ความสำเร็จในอาชีพ ความสำเร็จในอาชีพด้านวัตถุวิสัย (Objective career success) - เงินเดือน (Salary) - ตำแหน่ง (Position) - ชั่วโมงการทำงานต่อสัปดาห์ (Hour Worked per week) ความสำเร็จในอาชีพด้านจิตวิสัย (Subjective career success) - ความพึงพอใจในอาชีพ (Satisfy career) - ความพึงพอใจในงาน (Satisfy Job) บุคลิกภาพ (Personality) แรงดึงดูดใจทางกายภาพ (Physical Attractiveness) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ (Achievement motive) สถานภาพครอบครัว (Family Status) ความทุ่มเทต่อครอบครัว (Family involvement) แรงสนับสนุนจากครอบครัว (Family support)

63 ชั่วโมงทำงานต่อสัปดาห์
คุณลักษณะทุนมนุษย์ ความสำเร็จในอาชีพ ประสบการณ์ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส คุณลักษณะส่วนบุคคล ชั่วโมงทำงานต่อสัปดาห์ ด้านวัตถุวิสัย เงินเดือน ตำแหน่ง บุคลิกภาพ เอกัตบุคคล ความรักความอบอุ่น สถานภาพครอบครัว ดูแลครอบครัว หาเลี้ยงครอบครัว จุดมุ่งหมาย มีเวลาให้ครอบครัว ด้านจิตวิสัย ความพึงพอใจในงาน ความพึงพอใจในอาชีพ 0.134 0.008 0.116 0.077 0.516 0.093 0.113 0.002 0.407 0.689 0.611 0.023 0.111 0.013 0.617 0.018 0.998

64 กรอบแนวคิดในการวิจัย
การอบรมเลี้ยงดู พฤติกรรมทางสังคม แบบบังคับ แบบตามใจ สุขภาพจิต แบบเอาใจใส อัตลักษณ์ตนเอง แบบปล่อยปละละเลย ความสัมพันธ์ระหว่างวิธีการเลี้ยงดูของพ่อแม่/ผู้ปกครอง พฤติกรรมทางสังคม อัตลักษณ์ตนเอง กับสุขภาพจิตของวัยรุ่นชายรักชาย ของไชโย นิธิอุบัติ

65 กรอบแนวคิดในการวิจัย
TAKECARE SOC.BEH .543 FORCE -.225 .407 SPOIL MENTAL.HEL .35o ATTAINTION .329 IDEN .440 NEGLECT ความสัมพันธ์ระหว่างวิธีการเลี้ยงดูของพ่อแม่/ผู้ปกครอง พฤติกรรมทางสังคม อัตลักษณ์ตนเอง กับสุขภาพจิตของวัยรุ่นชายรักชาย ของไชโย นิธิอุบัติ

66 ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
อิทธิพลทางตรงและทางอ้อมของวิธีการเลี้ยงดูของพ่อแม่/ผู้ปกครอง พฤติกรรมทางสังคม อัตลักษณ์ตนเอง ต่อสุขภาพจิตของวัยรุ่นชายรักชาย ตัวแปร ความสัมพันธ์รวม ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ไม่ใช่เชิงสาเหตุ ทางตรง ทางอ้อม รวม วิธีการอบรมเลี้ยงดู บังคับ .130 - -.122 .008 ตามใจ .360 .350 .05 เอาใจใส่ ปล่อยปละละเลย อัตลักษณ์ต่อตนเอง .670 .440 .221 .661 .009 พฤติกรรมทางสังคม .550 .543 .007

67 การป้องกันอุบัติเหตุ
ตัวแปรอิสระ ตัวอย่าง 1. ปัจจัยส่วนบุคคล 1.1 เพศ 1.2 อายุ 1.3 ระดับการศึกษา 1.4 สถานภาพการสมรส 1.5 รายได้ต่อเดือน ตัวแปรตาม พฤติกรรม การปฏิบัติตาม กฎจราจร ความรู้เกี่ยวกับ กฎหมายจราจร จิตสำนึกการใช้รถใช้ถนน พฤติกรรม การป้องกันอุบัติเหตุ

68 รูปแบบการทบทวนวรรณกรรม
แบบผู้แต่งนำ แบบเนื้อเรื่องนำ

69 ความเชื่อมโยงของส่วนประกอบสำคัญ ในข้อเสนอโครงการวิจัย
การกำหนดปัญหา (Problem Identification) การทบทวนเอกสาร (Literature Review) กรอบแนวคิด (Conceptual Framework) วัตถุประสงค์ (Objective) วิธีการศึกษา (Methodology)

70 Thank you for your attention
จบการบรรยาย Thank you for your attention


ดาวน์โหลด ppt การทบทวนวรรณกรรม และการสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google