งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Welcome! ภาคการศึกษา 2 /2546 วิชา การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ผู้สอน ดร. ลักคณา วรศิลป์ชัย 4/10/2019.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Welcome! ภาคการศึกษา 2 /2546 วิชา การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ผู้สอน ดร. ลักคณา วรศิลป์ชัย 4/10/2019."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Welcome! ภาคการศึกษา 2 /2546 วิชา การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ผู้สอน ดร. ลักคณา วรศิลป์ชัย 4/10/2019

2 4/10/2019

3 WORLD MAP 4/10/2019

4 4/10/2019

5 4/10/2019

6 AFRICA 4/10/2019

7 ASIA 4/10/2019

8 NORTH AMERICA 4/10/2019

9 EUROPE 4/10/2019

10 AUSTRALIA 4/10/2019

11 SOUTH AMERICA 4/10/2019

12 MIDDLE EAST 4/10/2019

13 4/10/2019

14 4/10/2019

15 4/10/2019

16 4/10/2019

17 4/10/2019

18 4/10/2019

19 4/10/2019

20 4/10/2019

21 4/10/2019

22 4/10/2019

23 บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเงินระหว่างประเทศ
หัวข้อการเรียน ความรู้ทั่วไปของธุรกิจระหว่างประเทศ ความสำคัญของการเงินระหว่างประเทศ 4/10/2019

24 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจระหว่างประเทศ
ทำไมต้องมีการค้าระหว่างประเทศ ตามทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ประเทศจะผลิตในสิ่งที่ตนเองถนัด และแลกเปลี่ยนกัน ตัวอย่างเปรียบเทียบ เกาหลี กับ กาน่า (Ghana) ตามทฤษฏีของ Michael E. Porter แนวคิดใหม่ ประเทศควรจะผลิตสิ่งที่ตนเองถนัด โดยพิจารณาจาก 1. Factor Conditions 2. Firm Strategy, Structure, and Rivalry 3. Demand Condition 4. Related Supporting Industries เช่น ประเทศไทย (รูปอุตสาหกรรมหลัก) 4/10/2019

25 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจระหว่างประเทศ
แนวโน้มการเจริญเติบโตของธุรกิจ หรือ การค้าไร้พรมแดน (Globalization) - บริษัทข้ามชาติในประเทศไทย เช่น บริษัทจีเอ็ม โตโยต้า - บริษัทไทยที่ทำธุรกิจในต่างประเทศ เช่น ซีพี ชินวัตร ธนาคาร โรงงานน้ำตาลมิตรผล บริษัททีเอฟซี - ตัวอย่างของบริษัทข้ามชาติ Fortune 500 (ตาราง) 4/10/2019

26 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของธุรกิจข้ามชาติ
1. การเปิดเขตการค้าเสรี และ การรวมกลุ่มกันทางเศรษฐกิจ 2. การแสวงหาตลาดใหม่ ๆ ของบริษัทข้ามชาติ 3. การย้ายฐานการผลิตเพื่อให้ใกล้แหล่งวัตถุดิบ 4/10/2019

27 1. การเปิดการค้าเสรีและการรวมกลุ่มกันทางเศรษฐกิจ
1. การให้สิทธิพิเศษทางการค้าระหว่างกัน (Trade Preference) - ประเทศสมาชิกจะให้สิทธิพิเศษต่อประเทศในกลุ่มเดียวกันในอัตราที่ต่ำกว่าสินค้านำเข้าจากประเทศอื่น เช่น ประเทศในกลุ่ม ASEAN และ APEC (แผนที่) 2. เขตการค้าเสรี (Free Trade Area) - ไม่มีการเก็บภาษีนำเข้า และไม่กำหนดโควต้าการนำเข้าสินค้าจากประเทศสมาชิกด้วยกัน แต่ละประเทศมีอิสระในการกำหนดภาษีนำเข้าจากประเทศนอกกลุ่ม เช่น EFTA และ เขตการค้าเสรีระหว่าง ไทย-จีน สำหรับสินค้าเกษตรเริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 46 4/10/2019

28 การเปิดการค้าเสรีและการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
3. สหภาพศุลกากร (Custom Union) - ไม่เก็บภาษีภายในกลุ่มเดียวกัน และยังเรียกเก็บภาษีศุลกากรกับประเทศนอกกลุ่มจะเก็บในอัตราเดียวกัน เช่น กลุ่ม MERCOSUR 4. ตลาดร่วม (Common Market) - ประเทศสมาชิกในกลุ่มสามารถเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตต่าง ๆ ทั้งทางด้านต้นทุน และแรงงานรวมทั้งผู้ประกอบโดยเสรี เช่น ความร่วมมือระหว่างกลุ่มสหภาพยุโรป กับ ประเทศอื่น ๆ ในยุโรป 4/10/2019

29 APEC ประกอบด้วย 21 เขตเศรษฐกิจ ประชากร 2.5 พันล้าน
APEC ย่อมาจาก Asia-Pacific Economic Cooperation จัดตั้งขึ้น 1989 ประกอบด้วย 21 เขตเศรษฐกิจ ประชากร 2.5 พันล้าน GDP US$18 trillion มากกว่า 47 เปอร์เซ็นต์ ของมูลค่าการค้าขายในโลก ต้องการร่วมมือกันในการทำการค้า และการลงทุน ของประเทศสมาชิก 4/10/2019

30 การเปิดการค้าเสรีและการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
5. สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) มีลักษณะการรวมกลุ่มเหมือนกับตลาดร่วมแต่มีระดับการรวมตัวสูงมากขึ้น โดยการเพิ่มเงื่อนไขให้มีนโยบายการบริหารเศรษฐกิจที่สำคัญ ๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศเป็นแบบเดียวกัน เช่น ระบบภาษีรายได้ เช่น สหภาพเศรษฐกิจยุโรป 6. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจสมบูรณ์แบบ (Complete Economic Integration) เหมือนการรวมกลุ่มสหภาพเศรษฐกิจ แต่สมาชิกภายในกลุ่มจะต้องมีสถาบันทางเศรษฐกิจชุดเดียวกัน ที่มีหน้าที่กำหนดนโยบายและบริหาร กลุ่มที่ใช้เงินสกุลยูโร 4/10/2019

31 ลักษณะการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศ
1. การลงทุนโดยตรง (Foreign Direct Investment) - เข้ามาลงทุนทำธุรกิจ เช่น สร้างโรงงาน - นับว่าเป็นการลงทุนระยะยาว 2. การร่วมค้า (Joint Venture) - การที่ 2 บริษัทที่ไม่ได้อยู่ในประเทศเดียวกัน ทำธุรกิจร่วมกัน 3. การผลิตตามใบอนุญาต (Foreign Licensing) คือการประกอบธุรกิจในต่างประเทศโดยผู้ให้สิทธิอนุญาตให้ผู้รับสิทธิ ผลิตสินค้าโดยใช้กรรมวิธีการผลิต เครื่องหมายการค้า ยี่ห้อ สิทธิบัตร ไปใช้หาผลประโยชน์ได้ โดยผู้รับสิทธิจะต้องจ่ายค่าธรรมเนียมเป็นค่าตอบแทนให้แก่ผู้ถือสิทธิ เช่น โค้ก 4/10/2019

32 ลักษณะการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศ
การให้สัมปทานในการจำหน่าย (Franchising) เช่น แมคโดนัล สัญญาทางด้านการบริหารและดำเนินการ (Management Contracts) คือสัญญาให้ไปบริหารกิจการในต่างประเทศ เช่น โรงแรมฮิลตัน สัญญาด้านบริหารเทคนิค คือให้ความช่วยเหลือประเทศที่เจริญน้อยกว่า (Technical Agreements) เช่น โรงงาน GM ที่อเมริกาจะเป็นผู้คิดค้นเทคโนโลยี สัญญาเหมาเบ็ดเตล็ด (Turnkey Operation) คือ สัญญาการลงทุนในโรงงาน บุคลากรเครื่องจักรต่าง ๆ เมื่อดำเนินการตามสัญญาก็จะโอนให้เจ้าของโครงการต่อไป 4/10/2019

33 2. การแสวงหาตลาดใหม่ ๆ ของบริษัทข้ามชาติ
เช่น บริษัทรถยนต์ในอเมริกาที่ขยายฐานมาสู่ตลาด เอเชีย วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (International Product Life Cycle) 4/10/2019

34 ความสำคัญของการเงินระหว่างประเทศ
ความเสี่ยงเนื่องจากอัตราแลกเปลี่ยน - TPI CASE 2. ความเสี่ยงทางด้านการเมือง - กฎหมาย ข้อกำหนดต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมโทรคมนาคมของจีน - คอร์รัปชั่น 4/10/2019


ดาวน์โหลด ppt Welcome! ภาคการศึกษา 2 /2546 วิชา การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ผู้สอน ดร. ลักคณา วรศิลป์ชัย 4/10/2019.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google