งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการจัดทำ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการจัดทำ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการจัดทำ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ

2 สาระสำคัญ 01 02 03 04 05 ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปี
ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายประจำปี 02 กลุ่มงบประมาณ 6 กลุ่ม 03 งบรายจ่าย 04 การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 05

3 ปฏิทินงบประมาณ รายจ่ายประจำปี

4 1. คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบการเตรียมการจัดทำงบประมาณและปฏิทินงบประมาณ
ปฏิทินงบประมาณรายจ่าย ประจำปี 1. คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบการเตรียมการจัดทำงบประมาณและปฏิทินงบประมาณ 3. การวางแผน และ การจัดทำงบประมาณ ต.ค. ต.ค. – พ.ย. ธ.ค. – พ.ค. มิ.ย. – ก.ย. 2. การทบทวนงบประมาณ 4. การอนุมัติงบประมาณ

5 ยุทธศาสตร์การจัดสรร งบประมาณรายจ่ายประจำปี

6 ยุทธศาสตร์การจัดสรร งบประมาณรายจ่ายประจำปี

7 ยุทธศาสตร์การจัดสรร งบประมาณรายจ่ายประจำปี

8 กลุ่มงบประมาณ 6 กลุ่ม

9 การกำหนดงบประมาณรายจ่ายประจำปี แบ่งเป็น 6 กลุ่ม
การกำหนดงบประมาณรายจ่ายประจำปี แบ่งเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มงบประมาณรายจ่ายบุคลากรภาครัฐ Function กลุ่มงบประมาณรายจ่ายกระทรวง/หน่วยงาน แผนงานพื้นฐาน แผนงานยุทธศาสตร์ Agenda กลุ่มงบประมาณรายจ่ายบูรณาการ Area กลุ่มงบประมาณรายจ่ายบูรณาการเชิงพื้นที่ กลุ่มงบประมาณรายจ่ายบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ กลุ่มงบกลาง 1 2 3 4 5 6

10 1. กลุ่มงบประมาณรายจ่าย บุคลากรภาครัฐ
แผนงานบุคลากรภาครัฐ หมายถึง กลุ่มงบประมาณที่แสดงค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากรภาครัฐที่กำหนดไว้ในงบบุคลากร งบดำเนินงาน รวมทั้งงบเงินอุดหนุนและงบรายจ่ายอื่น ซึ่งเบิกจ่ายในลักษณะงบดังกล่าว 2. กลุ่มงบประมาณรายจ่าย กระทรวง/หน่วยงาน (Function) 2.1 แผนงานพื้นฐาน หมายถึง แผนงานที่ดำเนินการตามหน้าที่ความรับผิดชอบเป็นปกติประจำตามกฎหมายจัดตั้งของหน่วยงานนั้นๆ หากหยุดดำเนินงานอาจก่อให้เกิดความเสียหายในการให้บริการสาธารณะของรัฐ 2.2 แผนงานยุทธศาสตร์ หมายถึง แผนงานที่ดำเนินภารกิจตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายในเชิงนโยบายที่ต้องการผลักดันหรือเห็นความสำคัญในช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยกำหนดให้จัดทำงบประมาณในลักษณะ Project based มีที่มาของโครงการ เช่น นโยบายสำคัญของรัฐบาล ข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรี และนโยบายความมั่นคง เป็นต้น

11 3. กลุ่มงบประมาณรายจ่าย บูรณาการ (Agenda)
แผนงานบูรณาการ หมายถึง แผนงานที่ต้องดำเนินการให้สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติ หรือยุทธศาสตร์สำคัญที่คณะรัฐมนตรีกำหนดให้หน่วยงาน รับงบประมาณตั้งแต่ 2 หน่วยงานขึ้นไป ร่วมกันวางแผนกำหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัด และแผนการปฏิบัติงาน และการใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อลดความซ้ำซ้อน มีความประหยัดและคุ้มค่า สามารถบรรลุเป้าหมายและเกิดผลสัมฤทธิ์ ตามวัตถุประสงค์ของ แผนงานบูรณาการ 4. กลุ่มงบประมาณรายจ่าย บูรณาการเชิงพื้นที่ (Area) หมายถึง แผนงานที่ดำเนินภารกิจในมิติพื้นที่ ท้องถิ่น ภูมิภาค จังหวัด และกลุ่มจังหวัด ประกอบด้วย - แผนงานบูรณาการส่งเสริมการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - แผนงานบูรณาการส่งเสริมการพัฒนาจังหวัดแบบบูรณาการ - แผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นที่ระดับภาค

12 5. กลุ่มงบประมาณรายจ่าย บริหารจัดการหนี้ภาครัฐ
เป็นรายจ่าย ชดใช้เงินกู้และดอกเบี้ยและรายจ่ายชดใช้เงินคงคลัง ประกอบด้วย - แผนงานบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ - แผนงานรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง - แผนงานรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินทุนสำรองจ่าย 6. งบกลาง ประกอบด้วย - ค่าใช้จ่ายตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ - ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการรับเสด็จพระราชดำเนินและต้อนรับประมุขต่างประเทศ - ค่าใช้จ่ายชดใช้เงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน - เงินชดเชยค่างานสิ่งก่อสร้าง - เงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น

13 การพิจารณาตามงบ รายจ่าย

14 การพิจารณาตามงบรายจ่าย
รายจ่ายประจำ เป็นลักษณะของค่าใช้จ่ายที่เป็นค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค รายจ่ายลงทุน เป็นลักษณะของการใช้จ่ายเพื่อจัดหาครุภัณฑ์ และจัดจ้างก่อสร้าง

15 การพิจารณาตามงบ รายจ่าย
งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น งบประจำ งบลงทุน

16 การจัดทำงบประมาณรายจ่าย ประจำปี พ.ศ. 2562

17 การจัดทำงบประมาณรายจ่าย ประจำปี พ.ศ. 2562
สอดคล้องกับ ร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ นโยบายสำคัญของรัฐบาล แผนปฏิรูปประเทศ แผนแม่บทระดับชาติ แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและนโยบาย 2. บูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ 3 มิติ การจัดทำงบประมาณรายจ่ายแยกเป็น รายจ่ายประจำ/รายจ่ายลงทุน หลักเกณฑ์ประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ หลักเกณฑ์การนำเงินรายได้สมทบ 3. พิจารณาผลการดำเนินงานที่ผ่านมา เพื่อชะลอ/ปรับลด/ยกเลิกภารกิจที่หมดความจำเป็น หลักการ 3R 4. จัดลำดับความสำคัญของภารกิจที่มีผลสัมฤทธิ์ โดยพิจารณาจากความจำเป็น ความคุ้มค่าศักยภาพของหน่วยงาน ความพร้อมและขีดความสามารถในการใช้จ่ายงบประมาณ 5. พิจารณาให้ครอบคลุมทุกแหล่งเงินเพื่อนำมาสมทบเงินงบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจำปี

18 การจัดทำงบประมาณรายจ่าย ประจำปี พ.ศ. 2562
Redeploy Replace Review Review Redeploy Replace Review : ทบทวนประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ ปรับลดแล้วส่งผลกระทบ ต่อการบรรลุเป้าหมายการดำเนินภารกิจในปีถัดไป Redeploy ทบทวนรายการค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น ชะลอ/ยกเลิก/ปรับลดเป้าหมายหรือค่าใช้จ่าย ปรับลดงานจบ Replace นำเงินที่ได้จากการปรับลดในขั้นตอน Review และ Redeploy มาจัดสรรเพิ่มเติมให้กับโครงการตามนโยบายและยุทธศาสตร์ที่มีความสำคัญจำเป็นเร่งด่วน และมีความพร้อม

19 การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2562 กระทรวงศึกษาธิการ
การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ กระทรวงศึกษาธิการ พิจารณาจากประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ 01 1.1 แผนงานบุคลากรภาครัฐ - ใช้ค่าเฉลี่ยการเบิกจ่ายจริงเงินเดือน/ค่าจ้าง ปีงบประมาณ 2561 3 เดือน (ต.ค. – ธ.ค.) - การตั้งงบประมาณสำหรับอัตราว่างมีเงิน ให้พิจารณาความพร้อมที่จะสามารถบรรจุได้ในปีงบประมาณ 2562 - การตั้งงบประมาณเงินประจำตำแหน่งและเงินค่าตอบแทนรายเดือน ให้ถูกต้องตามระเบียบ/กฏหมายที่เกี่ยวข้อง แผนงานบุคลากรภาครัฐ

20 การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2562 กระทรวงศึกษาธิการ
การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ กระทรวงศึกษาธิการ พิจารณาจากประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ 01 1.2 พิจารณาผลการเบิกจ่ายปีงบประมาณ 2560 1.3 การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ 2560 ทั้งที่เป็นอำนาจของส่วนราชการ และขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณ การโอนไปเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ 1.4 รายจ่ายลงทุนที่เข้าพระราชบัญญัติโอนงบประมาณ พ.ศ. 2560 1.5 รายจ่ายลงทุนปีเดียวปีงบประมาณ 2561 ที่อยู่ระหว่างปรับแผน/ปรับ แบบ/ปรับ TOR /ปรับรายละเอียด ทำให้เบิกจ่ายไม่ทัน 30 ธันวาคม 2560 1.6 หักรายการ/โครงการ สิ้นสุด ปี 2561 แผนงานพื้นฐาน/ยุทธศาสตร์

21 การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2562 กระทรวงศึกษาธิการ
การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ กระทรวงศึกษาธิการ หน่วยงานที่มีเงินรายได้ (สถาบันอุดมศึกษา 80 แห่ง) กำหนดหลักเกณฑ์การนำเงินรายได้สมทบรายจ่ายประจำ (ไม่รวมแผนงานบุคลากรภาครัฐ) ในอัตราร้อยละ 1 – 30 02 ใช้เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดหักหนี้สิน (มาจากงบแสดงฐานะการเงิน) เป็นฐานข้อมูลสินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด xxxxx เงินลงทุนระยะสั้น xxxxx รวม xxxxx หัก หนี้สินหมุนเวียน xxxxx คงเหลือ xxxx เป็นวงเงินที่จะนำมาพิจารณาตามหลักเกณฑ์ การนำเงินรายได้มาสมทบรายจ่ายประจำ หลักเกณฑ์การนำเงินได้มาสมทบงบประมาณรายจ่ายประจำ วงเงินงบประมาณปี 2562 ต่ำกว่างบประมาณปี 2561 ที่ไม่รวมแผนงานบุคลากรภาครัฐ คิดเป็นร้อยละ วงเงินรายได้ต่ำกว่า 100 ล้านบาท เกิน 100 – 900 ล้านบาท เกิน 900 – 1,000 ล้านบาท เกิน 1,000 – 2,000 ล้านบาท เกิน 2,000 – 3,000 ล้านบาท เกิน 3,000 – 4,000 ล้านบาท เกิน 4,000 ล้านบาท ขึ้นไป

22 งบประมาณรวมของหน่วยงาน
การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ กระทรวงศึกษาธิการ รายจ่ายประจำ รายจ่ายลงทุน 1. แผนงานบุคลากรภาครัฐ ใช้ค่าเฉลี่ยการเบิกจ่ายจริงเงินเดือน 3 เดือน อัตราว่างมีเงินพิจารณาความพร้อมในการบรรจุ การตั้งงบประมาณเงินประจำตำแหน่ง และเงินค่าตอบแทนรายเดือน ให้ถูกต้องตามระเบียบ/กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. รายจ่ายประจำที่ไม่รวมแผนงานบุคลากรภาครัฐ พรบ. ปี 2561 ใช้เกณฑ์ที่ปรับลดมากกว่า พรบ. ปี 2561 หัก ผลการเบิกจ่ายที่ต่ำกว่างบประมาณปี 60 เช่น มีผลการเบิกจ่าย 98% ก็จะหักส่วนที่ไม่เบิกจ่าย 2% (คิด 2% ของวงเงินปี 61) หัก พรบ. โอนปี 2560 หัก รายการปีเดียวที่อยู่ระหว่างปรับแผน/ปรับแบบ/ปรับ TOR /ปรับรายละเอียด ทำให้เบิกจ่ายไม่ทัน 30 ธันวาคม 2560 หัก โอนเปลี่ยนแปลงทั้งอำนาจส่วนราชการและตกลงกับสำนักงบประมาณ รวมโอนไปต่างประเทศ หัก รายการ/โครงการ สิ้นสุด ปี 2561 หรือหัก การนำเงินรายได้สมทบ รายจ่ายประจำ แยกการพิจารณา รายการผูกพันเดิม และรายการผูกพันใหม่ รวมเป็นกรอบวงเงินปี 2562 (ข้อ 1 + ข้อ 2) รวมเป็นกรอบวงเงินปี 2562 สำหรับการจัดทำรายการงบลงทุนปีเดียว บวก รายการผูกพันเดิม และรายการผูกพันใหม่ (ถ้ามี) รวมรายจ่ายประจำทั้งสิ้น รวมรายจ่ายลงทุนทั้งสิ้น งบประมาณรวมของหน่วยงาน

23 แนวทางการพิจารณางบประมาณ
1 พิจารณาประสิทธิภาพการใช้จ่าย จากการประเมินผลสำเร็จ และรายจ่ายจริง หรือข้อมูลการโอนเปลี่ยนแปลง ทั้งที่อยู่ในอำนาจของส่วนราชการฯ และที่ต้องขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณ รวมถึงการตรวจสอบเงินกันที่ยังไม่ก่อหนี้ผูกพัน 2 พิจารณาจากประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าและผลสัมฤทธิ์ หากมีต้นทุนเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องแต่เป้าหมายคงเดิม ให้พิจารณาความเหมาสมของเป้าหมายโดยให้เฉพาะเท่าที่จำเป็น 3 - กิจกรรมเดิมพิจารณาความพร้อมและสอดคล้องกับนโยบายสำคัญของรัฐบาล ในลักษณะเป็นรายจ่ายตามนโยบายต่อเนื่อง หรือเป็นค่าใช้จ่ายตามสิทธิ ตามกฎหมาย และตามข้อผูกพันที่จำเป็นต้องจ่าย - กิจกรรมใหม่พิจารณาความพร้อมและสอดคล้องกับนโยบายสำคัญของรัฐบาล/กระทรวง ตามยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ จัดลำดับความสำคัญแต่ละกิจกรรม

24 แนวทาง การพิจารณางบประมาณ
1. ด้านการฝึกอบรมและสัมมนา - การจัดการฝึกอบรม สัมมนา ของทุกหน่วยงานควรกำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน ไม่ซ้ำซ้อน และคำนึงถึงความคุ้มค่าของการใช้จ่ายงบประมาณ (ประหยัด ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล) - พิจารณาใช้สถานที่ราชการ และวิทยากรควรเป็นบุคลากรของรัฐเป็นลำดับแรก - ควรมีการบูรณาการแผนหรือหลักสูตรอบรมระหว่างหน่วยงานภายในกระทรวง ในกรณีที่หลักสูตรมีความสอดคล้องและมีกลุ่มเป้าหมายเดียวกัน - หน่วยงานที่มีการฝึกอบรมประชาชนที่มีกลุ่มเป้าหมายเดียวกัน ขอให้มีการบูรณาการโดยจัดการฝึกอบรมและทำกิจกรรมร่วมกัน เพื่อการประหยัดงบประมาณ - การจัดฝึกอบรม สัมมนา ให้แก่บุคลากรภายนอกหรือภาคประชาชน ควรให้มีการสมทบค่าใช้จ่ายตามความเหมาะสม - การจัดฝึกอบรมเพื่อให้ความรู้ขั้นพื้นฐาน ควรปรับรูปแบบการฝึกอบรมให้เป็นแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยทำเป็นชุดความรู้ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ - หลักสูตรการฝึกอบรมที่จัดให้มีการศึกษาดูงานในต่างประเทศ ควรพิจารณาทบทวนให้เป็นไปอย่างเหมาะสมและประหยัด

25 แนวทาง การพิจารณางบประมาณ
2. ครุภัณฑ์ - มีคุณลักษณะเฉพาะ มีประมาณราคาหรือผลการสอบราคา มีสถานที่หรือพื้นที่พร้อมรองรับครุภัณฑ์ รวมทั้งมีการตรวจสอบและดำเนินการตามกฏหมายหรือระเบียบที่เกี่ยวข้องแล้ว - ครุภัณฑ์ที่มีราคามาตรฐาน ให้ใช้เกณฑ์ตามบัญชีราคามาตรฐาน ครุภัณฑ์นอกบัญชีราคามาตรฐานให้เป็นไปตามราคาที่สำนักงบประมาณเคยอนุมัติ หรือตามราคาที่ส่วนราชการเคยจัดหา หรือตามผลการสอบราคาหรือสอดคล้องกับราคาตลาด - ครุภัณฑ์ทดแทน รายการครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ทดแทนเฉพาะที่มีอายุการใช้งานเกินกว่า 7 ปี 3. สิ่งก่อสร้าง - มีรายละเอียดแบบรูปรายการและประมาณราคา มีสถานที่หรือพื้นที่พร้อมรองรับครุภัณฑ์ รวมทั้งมีการตรวจสอบและดำเนินการตามกฏหมายหรือระเบียบที่เกี่ยวข้องแล้ว - สิ่งก่อสร้างที่มีราคามาตรฐาน ให้ปรับลดตามบัญชีมาตรฐาน สิ่งก่อสร้างนอกบัญชีราคามาตรฐานให้เป็นไปตามราคาที่สำนักงบประมาณเคยอนุมัติ หรือตามราคาที่ส่วนราชการเคยจัดหา หรือตามผลการสอบราคาหรือสอดคล้องกับราคาตลาด - รายการสิ่งก่อสร้าง ที่ผูกพันงบประมาณตามสัญญา หรือผูกพันงบประมาณตามมาตรา 23 ให้ตรวจสอบผลการดำเนินงาน ผลการเบิกจ่าย และเงินที่กันไว้เบิกจ่ายเหลื่อมปีมาพิจารณาด้วย

26 จำนวน 100,000 ลบ. หรือ 3.4% ซึ่งไม่รวมงบประมาณเพิ่มเติม
วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 ภาพรวมทั้งประเทศ เงินกู้ 450,000 ลบ. รายได้ 2,550,000 ลบ. งบประมาณรวมทั้งสิ้น 3,000,000 ลบ. [เพิ่มขึ้นจากปี 2561 (2,900,000 ลบ.) จำนวน 100,000 ลบ. หรือ 3.4% ซึ่งไม่รวมงบประมาณเพิ่มเติม

27 แผนงานบูรณาการพื้นที่
งบประมาณรายจ่ายเปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2561 และ 2562 ภาพรวมมหาวิทยาลัย 80 แห่ง แผนงาน ปี 2561 ปี 2562 เพิ่ม/ลด รวม 119, 113, -6, -5.04 แผนงานบุคลากร 70, 68, -1, -2.76 แผนงานพื้นฐาน 28, 26, -2, -7.15 แผนงานยุทธศาสตร์ 11, 12, 1, 12.51 แผนงานบูรณาการ 5, 3, -1, -33.60 แผนงานบูรณาการพื้นที่ 2, 1, -1, -54.64

28 งบประมาณรายจ่ายเปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2561 และ 2562

29 แผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นที่ระดับภาค
งบประมาณรายจ่ายเปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2561 และ 2562 มรภ.นครราชสีมา แผนงาน ปี 61 (ปรับฐาน) ปี 62 ประจำ ลงทุน รวม แผนงานบุคลากรภาครัฐ - แผนงานพื้นฐาน แผนงานยุทธศาสตร์ 2.1576 แผนงานบูรณาการ 9.9193 แผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นที่ระดับภาค

30 งบประมาณรายจ่ายเปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2561 และ 2562

31 ข้อสังเกตคณะอนุกรรมาธิการ
การก่อสร้างอาคารใหม่ของมหาวิทยาลัยที่สามารถจัดเก็บรายได้จากการใช้บริการ ควรสมทบรายได้ในสัดส่วนที่สูงขึ้นกว่าเกณฑ์ปกติ 01 รายการค่าก่อสร้างที่มีวงเงินต่ำกว่า 100 ล้านบาท หรือแต่มีระยะเวลาเกิน 270 วัน ควรตั้งงบประมาณเป็นรายการผูกพันเท่าที่จำเป็นเฉพาะที่เป็นงานยาก และอยู่ในพื้นที่เกาะ ภูเขา หรือภาคใต้ เป็นต้น 02 การก่อสร้างบ้านพัก/อาคารสำนักงาน กรณีที่ไม่มีราคามาตรฐานกำหนด ให้เทียบเคียงเรื่องการใช้พื้นที่ต่อห้องและราคาให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2559 เพื่อมิให้ฟุ่มเฟือยเกินความจำเป็น 03 จำนวนนักเรียนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานลดลง แต่โรงเรียนสาธิตกลับเพิ่มขึ้น และการขยายการก่อสร้างโรงเรียนเพิ่มขึ้น ซึ่งในข้อเท็จจริง โรงเรียนสาธิตควรเป็นเพียงต้นแบบเพื่อการจัดการเรียนการสอน มากกว่ามุ่งแข่งขันเพื่อหารายได้ 04 สถาบันการศึกษาควรพิจารณานำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการเรียนการสอนและการฝึกอบรม เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ค่าอาหาร และค่าที่พัก 05

32 ปัญหาและอุปสรรคการ ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง
เรื่องความพร้อมของพื้นที่ รายการค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างประสบปัญหาเรื่องความพร้อมของพื้นที่ กรรมสิทธิ์ที่ดินและราคาที่ดิน ทำให้การดำเนินการล่าช้ากว่าแผนที่กำหนด 01 มีการประกวดราคาหลายครั้ง เนื่องจากผู้รับจ้างขาดคุณสมบัติ ไม่มีผู้ยื่นเสนอราคาหรือมีผู้เสนอราคารายเดียว ทำให้การดำเนินการไม่เป็นไปตามกรอบเวลาที่กำหนดไว้ 02 รายการที่มีคุณลักษณะพิเศษ เป็นรายการที่มีคุณลักษณะพิเศษเฉพาะ หรือจัดหาจากต่างประเทศ 03 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ส่วนราชการบางส่วนไม่สามารถดำเนินการตามระเบียบดังกล่าว โดยอยู่ระหว่างขออุทรณ์ขอยกเว้นการไม่ปฏิบัติตามระเบียบดังกล่าว 04 รายการค่าครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้างที่มีการโอนเปลี่ยนแปลง รายการค่าครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้างที่มีการโอนเปลี่ยนแปลง และยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ 05 ส่วนราชการไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผน ส่วนราชการไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด หรือยกเลิกการดำเนินการ 06

33 แนวทางการจัดทำงบประมาณ ปี 2563

34 แนวทางการจัดทำ งบประมาณ ปี 2563
จัดทำแผนความต้องการงบลงทุน 1 2 ให้ความสำคัญกับการขอรับจัดสรรงบประมาณเพื่อขับเคลื่อนโยบายรัฐบาล 3 บูรณาการการทำงานภายในมหาวิทยาลัย

35 แผนความต้องการงบลงทุน
ลำดับ ที่ รายการ จำนวน หน่วย นับ ราคา ต่อหน่วย คำขอตั้ง (บาท) ปี 2562 ภาควิชา/โปรแกรมวิชา หน่วยงาน นศ. ชั้น/ ปี มีอยู่แล้ว ประเภทครุภัณฑ์ สรุปคำชี้แจง ใช้ได้ ใช้ไม่ได้ ตั้งใหม่ ทดแทน ตั้งเพิ่ม เหตุผลและความจำเป็น ค่าครุภัณฑ์จัดการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ 13 8,700,000 12 1 1. ระบบฝึกปฏิบัติการจำลองสถานการณ์ทางคลินิกแบบหน้าจอสัมผัส ชุด 4,500,000 พยาบาลศาสตร์, แพทย์แผนไทย และสาธารณสุขศาสตร์ 775 2. เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายแบบที่ 2 เครื่อง 350,000 4,200,000 อาคารศูนย์คอมพิวเตอร์ 15,129 ทุกชั้นปี

36 แผนพัฒนามหาวิทยาลัยราช ภัฏนครราชสีมา

37 ช่องทางการของบประมาณเพื่อดำเนินการ แผนพัฒนาฯ
ภาพรวมมหาวิทยาลัย 80 แห่ง แผนงานพื้นฐาน แผนงานยุทธศาสตร์ โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ค่าใช้จ่ายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตฯรองรับประชาคมอาเซียน ค่าใช้จ่ายโครงการบริการวิชาการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 บริการวิชาการและสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ค่าใช้จ่ายโครงการศิลปวัฒนธรรม ยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างคุณค่าศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่สังคม ยุทธศาสตร์ที่ 5 การบริหารจัดการภายใต้การกำกับดูแลกิจการที่ดี แผนงานบูรณาการ โครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ โครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม โครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการสร้างองค์ความรู้พื้นฐานของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ ปฏิรูประบบวิจัยให้มีคุณภาพ

38 แผนงานยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน
วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการผลิตกำลังคนในระดับต่าง ๆ ของการศึกษา เพื่อให้มีสมรรถนะ (Competencies โดยให้ความสำคัญกับการพัฒนาองค์ความรู้ให้สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงของโลกตามพลวัตของโลกศตวรรษที่ ๒๑ ตรงตามความต้องการและ ความร่วมมือของทุกภาคส่วน สนับสนุนการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในระดับพื้นที่ และแนวทางศาสตร์แห่งพระราชาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน สร้างความเติบโตด้วยดิจิทัล เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศตามนโยบาย Thailand 4.0 ตลอดจนสนับสนุนค่าใช้จ่ายตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืน

39 บูรณาการการทำงานภายใน มหาวิทยาลัย
1 เพื่อให้หน่วยงานย่อยๆภายใต้มหาวิทยาลัยมีความสัมพันธ์กัน ร่วมกันทำหน้าที่อย่างผสมกลมกลืนเป็นองค์รวมหนึ่งเดียวที่มีความครบถ้วนสมบูรณ์ โดยหน่วยงานย่อยทำหน้าที่ของตนเองอย่างเป็นระบบ เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ นำหลักการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการมาใช้ โดยจัดทำแผนผังความเชื่อมโยงจากร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯ ถ่ายทอดมาสู่แผนการพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โดยกำหนดเป้าหมายระยะเวลา 1 ปี คำนึงถึงหลักประหยัดและความคุ้มค่า และมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการใช้จ่ายงบประมาณ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ 2 3 เน้นการจัดทำเป็น Project Based สมเหตุสมผล มีความเป็นไปได้ และคุ้มค่าเมื่อบูรณาการแล้วมีเอกภาพ ประสานสอดคล้องและสนับสนุนซึ่งกันและกัน ไม่ซ้ำซ้อน

40 ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี
บูรณาการการทำงานภายในมหาวิทยาลัย ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์ด้าน: แผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่: เป้าหมายที่1: เป้าหมายที่ 2: เป้าหมายของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ตัวชี้วัดเป้าหมายแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ที่ 1.1: ตัวชี้วัดเป้าหมายแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ที่ 1.2: ตัวชี้วัดเป้าหมายแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ที่ 2.1: ตัวชี้วัดของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 เป้าหมายของแผนงาน พัฒนามรภ.นครราชสีมา เป้าหมายที่ 1 : เป้าหมายที่ 2 : เป้าหมายที่ 3 :

41 แผนภาพความเชื่อมโยงระดับแผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน
เป้าหมายของแผนงาน พัฒนามทร. พระนคร เป้าหมายที่ 1 : ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1.1: …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางที่ : ……………………………………………… ……………………………….………………………………………. แนวทางที่ : …………………………………………. …………………………………………………………………… แนวทาง ตัวชี้วัด โครงการ กิจกรรม งบประมาณ


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการจัดทำ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google