ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยแดง เคนเนะดิ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟู ผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี
สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟู ผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี
2
การประเมินตนเอง
3
หัวใจ ของการพัฒนาคุณภาพ
การเน้นผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง การประเมินตนเอง การทำงานเป็นทีม
4
ความมุ่งหมายของแบบประเมิน
วิเคราะห์หาโอกาสพัฒนา บันทึกความก้าวหน้าในการพัฒนา สื่อสารกับผู้เยี่ยมสำรวจ
5
แบบประเมินตนเอง Unit Profile (ตท.2-1) Self – Assessment (ตท.2-2)
6
แบบประเมินตนเอง ภาพรวมระดับสถานพินิจฯ/ศูนย์ฝึกฯ ทีมนำ ระดับหน่วยงาน
7
1. ชื่อหน่วยงาน สถานที่ตั้ง 2. พันธกิจของหน่วยงาน ข้อความที่ระบุถึงหน้าที่รับผิดชอบ เหตุผลของการจัดให้มีบริการ / หน่วยงานนี้ รวมถึงคุณค่าของการมีหน่วยงานนั้นต่อผู้รับบริการ พันธกิจระดับหน่วยงานนี้ อาจเรียกอีกอย่างว่า ความมุ่งหมายหรือเจตจำนงของหน่วยงาน
8
หน้าที่ เป้าหมาย วัตถุประสงค์
หน้าที่ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ เจตจำนง ความมุ่งหมาย (Purpose) ขอบเขตบริการ ความต้องการของผู้รับบริการ ความต้องการของผู้ร่วมงานในสถานพินิจ/ศูนย์ฝึก เป้าหมาย เครื่องชี้วัด จุดเน้นในการพัฒนา วัตถุประสงค์ของแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์/กลยุทธ์ เครื่องชี้วัด เป้าหมาย ระดับที่ปฏิบัติได้
9
ความมุ่งหมาย (Purpose)
ผู้ป่วยนอก ให้บริการดูแลรักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู แก่ผู้ป่วยนอกแบบองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพ อย่างรวดเร็ว ปลอดภัย โดยคำนึงถึงสิทธิผู้ป่วยเป็นสำคัญ การเงิน ให้บริการรับจ่ายเงิน จัดระบบข้อมูลทางการเงินบัญชี อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง รัดกุม โปร่งใส ตรวจสอบได้ ข้อความที่บอกหน้าที่ของหน่วยงาน เพื่อบอกว่าหน่วยงานทำหน้าที่อะไร แก่ใคร เพื่อให้เกิดคุณค่าอะไร
10
3. เครื่องชี้วัดของหน่วยงาน
ให้ระบุเครื่องชี้วัดของหน่วยงานซึ่งสอดคล้อง กับพันธกิจของหน่วยงาน
11
เกณฑ์การคัดเลือกเครื่องชี้วัดที่ดีของหน่วยงาน
วัดในสิ่งที่สำคัญ สะท้อนพันธกิจ/กระบวนการหลัก กระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงและพบปัญหาความผิดพลาดได้บ่อย สะท้อนมุมมองของผู้ใช้ประโยชน์ เช่น ผู้ใช้บริการ ผู้ให้บริการ ผู้บริหาร และนโยบายสุขภาพและสาธารณสุขที่สำคัญ สิ่งที่ต้องการพัฒนาและส่งผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงได้ มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ ไวต่อการเปลี่ยนแปลง วัดได้ง่าย มีศักยภาพเพียงพอที่จะเก็บข้อมูลได้อย่างถูกต้อง สามารถวิเคราะห์ข้อมูล และนำไปใช้ประโยชน์ได้ เครื่องชี้วัด ให้เห็นภาพรวมของการปฏิบัติงาน
12
การใช้ประโยชน์จากเครื่องชี้วัด
ตัวเลขของคนอื่นเป็นอย่างไร ตัวเลขในอดีตของเราเป็นอย่างไร ทำไมตัวเลขของเราจึงอยู่ในระดับนั้น ตัวเลขควรเป็นเท่าไร เรื่องใดที่ควรปรับปรุง ที่ผ่านมาเราทำอะไรสำเร็จบ้างแล้ว
13
กระบวนการทำงานและโอกาสพัฒนา
กระบวนการของหน่วยงาน วิเคราะห์โอกาสพัฒนา แนวทางป้องกันความเสี่ยงที่สำคัญ
14
4. ขอบเขตของการจัดบริการ
4. ขอบเขตของการจัดบริการ กลุ่มเป้าหมายได้แก่ จำนวนที่รับได้ โปรแกรมที่ใช้บำบัดฟื้นฟู
15
5. ทีมผู้รับผิดชอบหลัก 6. กระบวนการหลักของหน่วยงาน 6
5. ทีมผู้รับผิดชอบหลัก 6. กระบวนการหลักของหน่วยงาน 6.1 การรับผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯ เช่น การจำแนก การปฐมนิเทศ 6.2 การฟื้นฟูฯ เช่น กิจกรรมการฟื้นฟู การประเมินพฤติกรรม ระหว่างการบำบัดการส่งต่อรักษาเมื่อเจ็บป่วย 6.3 การเตรียมความพร้อมก่อนจำหน่าย เช่น การประเมินเมื่อ ครบโปรแกรม การแลกเปลี่ยนข้อมูลกับญาติ/ครอบครัว
16
ระบุงานหลักๆ ของหน่วยงาน อาจเขียนเป็นขั้นตอน การปฏิบัติงาน, Top-Down Flow Chart, Process Flow Chart หรือรูปแบบอื่นๆ
17
กระบวนการของหน่วยงาน
เขียนกระบวนการหลักๆ ของการทำงานไว้ตารางข้างบน เขียนกระบวนการย่อยๆ ของการทำงานแต่แต่ละกระบวนการ เขียนเป็น Top down flow chart เขียนจากการแกะรอยกระบวนการ หอผู้ป่วย ตามผู้ป่วยตั้งแต่แรกรับจนจำหน่าย ซักฟอกตามตั้งแต่รับผ้าจนส่งออก จ่ายกลาง ตามตั้งแต่รับของจนส่งของออก ยา ตั้งแต่แพทย์สั่งจนผู้ป่วยได้รับยา ชันสูตร ตั้งแต่ได้รับ specimen จนผลตรวจออก
18
การเบิกจ่ายพัสดุ การจัดและ - การจำแนก ตัดบัตรควบคุม และเสนอ
การรับและลงบัญชี การจ่าย การอนุมัติ การจัดและ ตัดบัตรควบคุม - การตรวจสอบ - การรับ - การจัดเก็บ เอกสาร - การจำแนก และเสนอ - การอนุมัติ การรับในเบิก การตรวจสอบความครบถ้วน ของเอกสาร การตัดบัญชี การจัดทำใบค้างจ่าย
19
7. การวิเคราะห์โอกาสพัฒนาจากกระบวนการหลัก
- กระบวนการหลัก - จุดมุ่งหมาย/ คุณค่า เป็นระบุจุดมุ่งหมายของ กระบวนการหลัก ว่าทำไปเพื่ออะไร หรือจะเกิด ประโยชน์อะไร - ปัญหา/โอกาสพัฒนา เป็นการระบุว่าแต่ลกระบวนการหลัก มีอะไรที่ยังเป็นปัญหา มีอะไรที่ยังทำได้ไม่ดี หรือมีอะไรที่ทำ ให้ไม่สามารถทำได้ในแต่ละกระบวนการหลัก
20
การวิเคราะห์โอกาสพัฒนา
กระบวนการ จุดมุ่งหมาย ความเสี่ยง/ปัญหา/โอกาสพัฒนา การประเมินผู้ป่วย เพื่อประเมินความต้องการของผู้ป่วยได้ครบถ้วน ให้การวินิจฉัยเบื้องต้นได้ถูกต้องและรวดเร็ว ประเมินไม่ครอบคลุม ไม่สามารถระบุปัญหาได้ ไม่มีการนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์
21
การวิเคราะห์โอกาสพัฒนา
กระบวนการ จุดมุ่งหมาย ความเสี่ยง/ปัญหา/โอกาสพัฒนา การลงนามยินยอม ผู้ป่วยได้รับทราบข้อมูลการดูแลรักษาที่จะเกิดขึ้น เจ้าหน้าที่ไม่เข้าใจเป้าหมาย ผู้ป่วยไม่ได้รับข้อมูล
22
8. แนวทางการป้องกันความเสี่ยงที่สำคัญในหน่วยงาน
- ความเสี่ยง เช่น การลักลอบนำยาเสพติดเข้ามาในสถานฟื้นฟูฯ การติดเชื้อ/การแพร่กระจายเชื่อในระหว่างการฟื้นฟูฯของสถานฟื้นฟูฯ การหลบหนีออกจากสถานฟื้นฟู การทะเลาะวิวาท การลักขโมย อื่นๆ ระบุ - แนวทางป้องกัน / หลีกเลี่ยง / แก้ไข
23
ความเสี่ยง โอกาสที่จะประสบกับความสูญเสียหรือสิ่งที่ ไม่พึงประสงค์ เช่น ถูกทำร้าย เหตุร้าย การคุมคาม ความไม่แน่นอน การถูกเปิดเผย
24
ความเสี่ยงในหน่วยงาน
ความสูญเสียที่เกิดกับเด็กและเยาวชน ผู้ใช้บริการ การเสื่อมเสียชื่อเสียง (ทำให้ไม่ได้รับความไว้วางใจ) การสูญเสียรายได้ การสูญเสียหรือความเสียหายต่อทรัพย์สิน (หน่วยงาน, เยาวชน, จนท.) การบาดเจ็บหรืออันตรายต่อเจ้าหน้าที่ การทำลายสิ่งแวดล้อม ภาระในการชดใช้ค่าเสียหาย
25
ความเสี่ยงต่อเด็กและเยาวชน
Physical risk เช่น หกล้ม ตกเตียง ติดเชื้อ การตัดอวัยวะผิดไม่จำเป็น การทำร้ายร่างกาย Emotional risk เช่น การทำร้ายจิตใจ การทำให้อับอาย Social risk เช่น การพิทักษ์สิทธิเด็ก (เช่น การเปิดเผยข้อมูลเด็กต่อหน้าผู้อื่น การรักษาความลับของเด็ก) การจัดการด้านเศรษฐกิจ Spiritual risk เป็นสิ่งที่เกี่ยวกับความเชื่อ ความรู้สึกมั่นคง
26
แนวทางการป้องกันความเสี่ยง
แนวทางป้องกันความเสี่ยง การให้เลือดผิดคน จัดทำแนวทางปฏิบัติในการเตรียมและให้เลือดเทียบกับแนวทางของสภากาชาดไทย จัดทำแนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาล สื่อสารให้เกิดการปฏิบัติอย่างครอบคลุม ติดตามประเมินผลการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
27
แนวทางการป้องกันความเสี่ยง
แนวทางป้องกันความเสี่ยง การให้ยาผิดพลาด ทบทวนแนวทางการให้ยาร่วมกันระหว่างวิชาชีพ จัดทำแนวทางการให้ยา ติดตามผลการปฏิบัติตามแนวทาง เฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา
28
บทบาทของสหวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยยาเสพติด
- สาขาวิชาชีพ - บทบาทของแต่ละวิชาชีพ การจัดองค์กรและการบริหาร (แผนภูมิโครงสร้างของหน่วยงาน) ปริมาณงานในรอบ 1 ปี ที่ผ่านมา - ประเภทของงาน เช่น จำนวนผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯ, จำนวนการ ตรวจพิสูจน์หาสารเสพติด - ผลงาน/ผลผลิต/หน่วยนับ
29
12. อัตรากำลังของหน่วยงาน
- ประเภทของเจ้าหน้าที่โดยระบุกำลังคนทุกประเภท และทุกระดับที่มีในหน่วยงานนี้ - จำนวนที่มี - คุณวุฒิ/ประสบการณ์ทำงานด้านยาเสพติด
30
13. แผนการฝึกอบรม / ศึกษาต่อเนื่อง
- กลุ่มเป้าหมาย - เนื้อหา / หลักสูตร - เหตุผล / ข้อมูลสนับสนุน 14. เครื่องมือ อุปกรณ์ เวชภัณฑ์และยาที่จำเป็นในหน่วยงาน - เครื่องมือ อุปกรณ์ เวชภัณฑ์และยา - แนวทางการดูแลรักษาและการตรวจสอบความพร้อม
31
15. ตัวอย่างกิจกรรมพัฒนาคุณภาพที่ได้ทำไปแล้ว การปรับปรุง
ปรับเปลี่ยน และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 15.1 การทบทวนความต้องการ/ ข้อเสนอแนะ/ คำร้องเรียน ของผู้รับบริการ - ต้องการ/ ข้อเสนอแนะ/ คำร้องเรียน - การปรับปรุงและผลลัพธ์ที่เกิด การทบทวนความเสี่ยง / ปัญหาสำคัญที่พบ และได้ ดำเนินการป้องกันแก้ไขแล้ว 15.3 การทบทวนเครื่องชี้วัดคุณภาพ (ตามตัวชี้วัดของหน่วยงาน)
32
ผลงานเด่นและความภาคภูมิใจของหน่วยงานที่สามารถเป็นตัวอย่างให้ผู้อื่น/ หน่วยงานอื่น หรือ
กรณีตัวอย่างที่ประสบความสำเร็จ เป็นที่ภาคภูมิใจ ของหน่วยงาน
33
การบรรลุเป้าหมายและการพัฒนาต่อเนื่อง
ผลงานเด่นและความภูมิใจผลงานเด่นและความภาคภูมิใจของหน่วยงาน เกิดเมื่อใดก็ได้ (แนวคิด กิจกรรม ผลลัพธ์) สรุปกิจกรรมที่ได้ทำไปแล้ว การปรับเปลี่ยน ผลลัพธ์ กิจกรรมที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลการบรรลุเป้าหมาย (CQI) การพัฒนาระบบงานและกิจกรรมพัฒนาซึ่งกำลังดำเนินการหรือมีแผนจะดำเนินต่อไป นำมาจากการวิเคราะห์หน่วยงาน
34
การหาประเด็นที่จะพัฒนา
แผนพัฒนา คุณภาพ ของหน่วยงาน วิเคราะห์ความต้องการของผู้รับผลงาน ประเด็น ที่ต้องพัฒนา ปัญหาที่เกิดขึ้นในหน่วยงาน จุดอ่อนของหน่วยงาน ความเสี่ยงในหน่วยงาน อุบัติการณ์ข้อร้องเรียน กระบวนการหลัก จุดเน้นในการพัฒนา บรรยากาศ/ความพึงพอใจ แผนปฏิบัติการ (วัตถุประสงค์/กลยุทธ์) ตัวชี้วัด
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.