ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยยุวรัตน์ เคนเนะดิ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย และเทคนิคการเรียน ในระดับอุดมศึกษา
2
มนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ ภูมิรู้ (หลักสูตร-การเรียน) ภูมิปัญญา (ประสบการณ์)
ภูมิรู้ (หลักสูตร-การเรียน) ภูมิปัญญา (ประสบการณ์) ภูมิธรรม (ความสำนึก) ภูมิฐาน (ความมั่นใจ-บุคลิกภาพ)
3
พระธรรมปิฏก ปยุตปยุตโต
การศึกษา การศึกษา คือ ขบวนการสร้างปัญญาและคุณภาพ ความสามารถอันเป็นส่วนประกอบอื่นๆ ที่จะช่วยให้ มนุษย์สามารถแก้ไขปัญหาลุล่วงพ้นสิ่งบีบคั้น ขัดข้อง ทำชีวิตให้เจริญงอกงามไปสู่ความเป็นอยู่อย่างดีที่สุด และเสวยผลแห่งความมีชีวิตได้โดยสมบูรณ์ พระธรรมปิฏก ปยุตปยุตโต
4
จุดมุ่งหมายของการศึกษา
1. เพื่อการพัฒนาความงอกงามทางสติปัญญา 2. สร้างกำลังคนเพื่อพัฒนาสังคม 3. เป็นแหล่งวิทยาการ 4. ทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม 5. พัฒนาคนให้เป็นคนที่สมบูรณ์ด้วยคุณธรรม จริยธรรม และดำเนินชีวิตอย่างมีคุณค่า
5
วิกฤตอุดมศึกษาไทย ความไร้สมรรถภาพในการผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพ
ความล้าหลังเมื่อเปรียบเทียบกับอุดมศึกษาของประเทศ ต่าง ๆ ในเวทีโลก ความด้อยในโครงสร้างการบริหารจัดการของสถาบัน อุดมศึกษา ความด้อยในขีดความสามารถทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
6
ระดับการศึกษาไทย (แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2535)
แบ่งเป็น 4 ระดับ 1. ระดับก่อนประถมศึกษา 2. ระดับประถมศึกษา 3. ระดับมัธยมศึกษา
7
4. ระดับอุดมศึกษา (การศึกษาหลัง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย)
4.1 ต่ำกว่าปริญญาตรี 4.2 ปริญญาตรี 4.3 สูงกว่าปริญญาตรี
8
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
เป็นแผนแม่บท พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 * การจัดการศึกษา มี 3 รูปแบบ ได้แก่ 1. ในระบบ 2. นอกระบบ 3. ตามอัธยาศัย * รวมทบวงมหาวิทยาลัยและกระทรวงศึกษาธิการ เป็นกระทรวงการศึกษา * การปฏิรูปการศึกษา
9
พระราชบัญญัติการศึกษา
ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 2 ระดับ 1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี 2. การศึกษาระดับอุดมศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ระดับ 2.1 ต่ำกว่าปริญญาตรี 2.2 ระดับปริญญา
10
ความเป็นมาของสถาบันอุดมศึกษา
สถาบันอุดมศึกษาในยุคแรกมีจุดมุ่งหมายเพื่อ ผลิตคนเข้ารับราชการ ขยายโอกาสทางการศึกษาไปสู่ภูมิภาค เปิดมหาวิทยาลัยในรูปแบบของตลาดวิชา ปี 2512 เปิดโอกาสให้เอกชนเข้าร่วมรับภาระ ในการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
11
มหาวิทยาลัยมิได้เป็นสถานที่ ที่สร้างความรู้เพียงอย่างเดียว แต่เป็นสถานที่ ที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้ คุณค่าแห่งชีวิต
12
ภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา
1. ต้องสร้างคนให้มีปัญญา 2. มีความคิด 3. มีความรู้และทักษะ 4. สามารถประกอบสัมมาอาชีพได้
13
5. เป็นบุคคลเรียนรู้ตลอดเวลา
6. ปรับเปลี่ยนไปตามสังคมการเรียนรู้ และสังคมวิชาการ 7. มีความเข้าใจธรรมชาติ 8. สร้างความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ทั้งในระดับชุมชนประเทศและนานาชาติ
14
วิสัยทัศน์ ของการศึกษาไทย
15
1. ประชาชนจบการศึกษาภาคบังคับขั้นต่ำ 12 ปี อย่างมีคุณภาพ (สังคมแห่งการเรียนรู้)
2. ประชาชนสนใจใฝ่รู้ในการพัฒนาตนเองและ การงานอย่างต่อเนื่องโดยแสวงหาความรู้ทันโลก อยู่ตลอดเวลา (สังคมของการปรับตัว)
16
3. ประชาชนมีจิตใจดี มีคุณภาพ จริยธรรม โดยอยู่ร่วมกันด้วยความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม (สังคมที่สงบสุข) 4. ประชาชนตระหนักถึงคุณค่าเอกลักษณ์ของ ความเป็นไทย และวัฒนธรรมไทยโดยรู้จัก การผสมผสานวัฒนธรรมไทยกับความเป็น สากลโลก (สังคมแบบไทย)
17
คุณลักษณะ ของบัณฑิต ที่พึงประสงค์
18
1. มีความรู้ 1.1 เป็นผู้มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง
1.1 เป็นผู้มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง - รอบรู้ในด้านวิชาการและวิชาชีพทั้ง ทฤษฏีและปฏิบัติ - ใฝ่รู้ ศึกษาค้นคว้า และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง - สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณและ เป็นระบบ
19
1.2 เป็นผู้นำที่สามารถประยุกต์ใช้ความรู้อย่าง สร้างสรรค์
- มีวิสัยทัศน์ - มีความสามารถในการสร้างงาน - เข้าใจปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม และ การเมืองของประเทศและสังคมโลก
20
1.3 เป็นผู้สามารถสื่อสารได้ดี
- สามารถสื่อภาษาไทยและภาษาสากลได้ดี - มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีอื่น ๆ ของโลกปัจจุบัน
21
2. มีคุณธรรม 2.1 เป็นผู้มีคุณธรรมนำตนเอง - มีวินัย - มีความรับผิดชอบ
- มีความสุจริต - มีความอดทน
22
2.2 เป็นผู้มีคุณธรรมต่อสังคม
- เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม - รู้จักสามัคคี - รู้จักค่าและสืบสานศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย - มีจิตประชาธิปไตย - ยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
23
3. มีชีวิตเป็นสุข 3.1 เข้าใจตนเองและผู้อื่น 3.2 มีสุขภาพกายใจดี 3.3 มีมนุษยสัมพันธ์และจิตใจเอื้ออาทร 3.4 ชื่นชมและเห็นคุณค่าของศิลปะ ดนตรี และวรรณกรรม
24
หลักสูตรและการสอนมีแนวทางสร้างคน ให้มีคุณสมบัติ คือ
* การศึกษาทั่วไป * วิชาชีพ * วิชาเอก หลักสูตร อุดมศึกษา หลักสูตรและการสอนมีแนวทางสร้างคน ให้มีคุณสมบัติ คือ 1. ลักษณะของผู้ใหญ่ เพื่อมีงานทำ มีความรับผิดชอบ 2. ผู้จบปริญญา มีความรู้ เป็นคนดี มีคุณธรรม รู้จักเลือก มีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์
25
องค์ประกอบด้านการเรียน
การเรียนในระดับมหาวิทยาลัย มุ่งเน้นให้นักศึกษาแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รู้จักค้นคว้า และใช้ข้อมูลจากการอ่าน การฟัง การสังเกต การซักถาม การจดจำ มาประยุกต์ใช้
26
สิ่งที่นักศึกษาจะพบในการเข้าเรียน
ในมหาวิทยาลัย - ความเป็นอิสระ/เป็นตัวของตัวเอง - โอกาสในการเลือก - เพื่อน - สิ่งแวดล้อม - ความเงียบเหงา/โดดเดี่ยว ฯลฯ
27
สาเหตุที่ทำให้การเรียนในมหาวิทยาลัย
ไม่ประสบความสำเร็จ * ไม่รู้จักวิธีแบ่งเวลาที่ถูกต้อง * ขาดแรงจูงใจในการเรียน * ไม่มีวินัยในตนเอง * ไม่รู้จักวิธีเรียนที่ดี * มีปัญหาส่วนตัว
28
วิธีการปรับปรุงแก้ไข
18 วิธีการปรับปรุงแก้ไข - ต้องรู้จักแบ่งเวลา - วางเป้าหมายในการเรียน - มีการวางแผนล่วงหน้า - กระตุ้นตนเองให้เกิดความตื่นตัว หาทางแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปโดยเร็ว
29
ปัจจัยที่สำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการเรียน
* ต้องสร้างความรู้สึกที่ดีในการเรียน * ต้องสร้างความหวัง * ต้องแบ่งเวลา
30
* ใช้หัวใจนักปราชญ์ * ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม * ขยันหมั่นเพียรอยู่เสมอ * ตั้งใจฟังคำบรรยาย มีการบันทึกย่อ และสรุปสิ่งสำคัญ * รักษาสุขภาพร่างกาย และจิตใจ
31
การสร้างตารางการเรียนและปฏิบัติตามให้ครบวงจร
1. จัดตารางสอน 2. ทบทวน/ อ่านล่วงหน้า 7. ทำการบ้าน 3. เตรียมปัญหา ข้อสงสัยถาม 6. ซักถาม/บันทึก/ ค้นคว้าเพิ่มเติม 4. ตั้งใจฟังครูสอน และติดตาม 5. จดบันทึกย่อ สรุปความ
32
องค์ประกอบด้านสังคม สภาพแวดล้อมด้านสังคมกลุ่มเพื่อน มีอิทธิพลต่อความเป็นอยู่ และพัฒนาการ ทางสังคม * การเลือกคบเพื่อน * เทคนิคการปรับตัว
33
สิ่งที่นักศึกษาต้องการทำและควรทำ เพื่อพัฒนาตนให้เป็นบัณฑิตที่สมบูรณ์
- เก่ง ดี มีคุณค่าต่อสังคม - เก่งวิชาการ วิชางาน และวิชาชีพ - คิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหาเป็น
34
บัณฑิตที่สมบูรณ์ ประกอบด้วยคุณลักษณะ ดังนี้
มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบ คิดเป็น ทำเป็น มีความเป็นประชาธิปไตย มีความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจ
35
สิ่งทำให้ตัวนักศึกษามีคุณภาพและคุณค่า
- ตั้งใจเรียนและสร้างสรรค์กิจกรรมด้วยตัวเอง - สำนึกรักและตอบแทนสังคม - เข้าชมรมและทำกิจกรรมเพิ่มทั้งในและ นอกหลักสูตร
36
สิ่งที่นักศึกษาควรทำเพื่อการพัฒนาตน
- เรียนและทำกิจกรรมอย่างเหมาะสม - ตระหนักถึงประโยชน์และร่วมทำกิจกรรม ที่สร้างสรรค์ - ปลูกฝังจริยธรรมและจิตสำนึกที่ดี - รู้จักการบริหารเวลา - ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
37
- ส่งเสริมการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพและอนามัย
- นำความรู้ไปใช้ประโยชน์เพื่อสังคม - จัดระบบการบริหารองค์กรให้มีประสิทธิภาพ - สร้างความโปร่งใส และจิตสำนึกที่ดี
38
กิจกรรมนักศึกษา กิจกรรมนักศึกษา หมายถึง กิจกรรม ที่จัดขึ้นเพื่อให้นักศึกษาได้รับ ประสบการณ์ในการพัฒนาตนเอง ในด้านส่วนตัว อารมณ์ สังคม และด้านวิชาการ
39
กิจกรรมนักศึกษาช่วยเสริมสร้างคุณสมบัติ ให้แก่บัณฑิต ดังนี้
1. ส่งเสริมภาวะผู้นำ และผู้ตาม 2. พัฒนาสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสติปัญญา 3. พัฒนาบุคลิกภาพ 4. พัฒนาศักยภาพ 5. เสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม
40
6. มีทักษะในการดำรงชีวิต
7. ภาคภูมิใจในความเป็นไทย ธำรงไว้ซึ่ง ศิลปวัฒนธรรมไทย และภูมิปัญญาท้องถิ่น 8. มีวิสัยทัศน์ 9. มีจิตสำนึกที่ดีต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และสังคม 10. ตระหนักในคุณค่าทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
41
การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษามีจุดมุ่งหมาย
แตกต่างกันในแต่ละระดับ ดังนี้ ระดับปริญญาตรี เพื่อมุ่งพัฒนานักศึกษาให้มี ความรู้ทั่วไปมีความรู้ความสามารถในวิชาชีพ วิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องพร้อมทั้งเน้นการเป็นคนที่ สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา
42
ระดับปริญญาโท เพื่อมุ่งนำความรู้ไปใช้ในการ พัฒนางานการปรับปรุงงาน
ระดับปริญญาเอก เพื่อมุ่งสร้างองค์ความรู้ใหม่ การค้นหารูปแบบ และทฤษฎีใหม่ ๆ
43
การเรียนระดับอุดมศึกษาประกอบด้วย เทคนิค ดังต่อไปนี้
1. เทคนิคการอ่าน การเป็นนักอ่านที่ดี หมายถึง ผู้อ่านที่สามารถเข้าใจเนื้อหา ได้มากที่สุดโดยใช้เวลาน้อยที่สุด เทคนิค การอ่าน มีหลายวิธี ดังนี้
44
1.1 วิธีอ่านแบบ OK4R ประกอบด้วย
O = Overview คือ การอ่านผ่าน ๆ อย่างรวดเร็ว K = Key Idea คือ การพิจารณาเนื้อหาที่เป็นหัวใจ ของเรื่อง R1= Reading อ่านเพื่อตอบคำถามที่ตั้งขึ้นมาให้ได้ R2= Recall การระลึกได้ว่าที่อ่านมาแล้ว เข้าใจมากน้อยเพียงไร R3= Reflect การนึกคิดว่าที่อ่านไปแล้วได้ ความคิดใหม่ ๆ อะไรบ้าง R4= Review การทบทวนเพื่อให้มีความรู้
45
การทบทวนจากการอ่านบันทึกย่อ และทำบันทึกย่อ
1.2 วิธีอ่านแบบ SQ3R มีรายละเอียดดังนี้ S = (Survey) การสำรวจ Q = (Question) การตั้งคำถาม R1 = (Read) การอ่าน R2 = (Recite) การจดจำ R3 = (Review or Reconstruct) การทบทวนจากการอ่านบันทึกย่อ และทำบันทึกย่อ
46
1.3 วิธีการอ่านตามจุดมุ่งหมาย ประกอบด้วย
1.3.1 การอ่านอย่างคร่าว ๆ (Skimming) เป็นการอ่านแบบผ่านไปอย่างรวดเร็ว ไม่ต้องการรายละเอียด 1.3.2 การอ่านเฉพาะเจาะจง (Scanning) เป็นการอ่านเพื่อค้นหาคำตอบ
47
1.3.3 การอ่านเพื่อศึกษารายละเอียด (Through Reading) เป็นการอ่านเพื่อให้เข้าใจ ความหมายทั้งหมดที่เป็นสาระสำคัญ 1.3.4 การอ่านอย่างวิเคราะห์ (Critical Reading) เป็นการอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น ต่อสิ่งที่อ่าน
48
2. เทคนิคการฟัง เทคนิคการฟังคำบรรยายใน ห้องเรียน ให้มีประสิทธิภาพ ควรปฏิบัติดังนี้
2.1 เตรียมตัวให้พร้อม 2.2 มีสมาธิในการฟัง 2.3 คิดตามคำบรรยาย การเลือกสถานที่นั่งฟังคำบรรยายใน ห้องบรรยายโดยทั่วไปจุดที่ดีที่สุดในการฟัง คำบรรยาย คือ บริเวณตรงกลางของแถวด้านหน้า
49
3. เทคนิคการซักถาม การซักถามควรปฏิบัติ ดังนี้
3.1 ยกมือขึ้นเพื่อขออนุญาตก่อนแล้วจึงถาม 3.2 ควรถามด้วยถ้อยคำ สำนวนที่สุภาพ สำรวมกิริยา 3.3 ควรถามคำถามสั้น ๆ ตรงไปตรงมา
50
3.4 ไม่ควรถามนอกเรื่อง 3.5 ควรถามด้วยเสียงดังพอที่จะให้ ผู้ฟังอื่น ๆ ที่นั่งอยู่ได้ยิน 3.6 ถ้าไม่เห็นด้วย ก็ควรคัดค้านอย่าง สุภาพ
51
4. เทคนิคการจดบันทึก การจดบันทึก เป็นการเรียบเรียงความคิด เพื่อเตือนความเข้าใจเตือนความจำในสิ่งที่ได้ฟัง ให้ได้เนื้อหาสาระจากการฟังได้มากขึ้นด้วย การจดบันทึกที่ดี จะต้องจดอย่างมี ประสิทธิภาพ คือ มีการเรียบเรียงความคิดและ จดอย่างเป็นขั้นตอน
52
4.1 บันทึกย่อ (Summary Note) ย่อ ข้อความในหนังสือหรือในบทความ โดย เก็บใจความสำคัญให้ได้มากที่สุดที่จะนำไป ใช้ได้ ดังตัวอย่างแผนภูมิหัวใจนักปราชญ์
53
หัวใจนักปราชญ์ สุ (ต) จิ (ต) ปุ (จฉา) ลิ (ขิต)
สุ (ต) จิ (ต) ปุ (จฉา) ลิ (ขิต) ฟัง + อ่าน คิด + วิจารณ์ ถาม (มีมารยาท) บันทึก
54
4.2 บันทึกโดยการถอดความหรือ แสดงความคิดเห็น (Paraphrase Note) เช่น ถอดข้อความจากร้อยแก้วหรือร้อยกรอง ดังตัวอย่างบันทึกการอ่าน โดยการถอดความโดยใช้สำนวนตัวเองในการถอดความ
55
บทกล่อมเด็ก ส.พลายน้อย (สมบัติ พลายน้อย). เกร็ดภาษา หนังสือไทย เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ กรุงเทพมหานคร, : ดอกหญ้า, 2527 หน้า 220 “อ้ายตุ๊กแกเอย ตัวมันลายพร้อยพร้อย งูเขียงตัวน้อย ห้อยหัวลงมา เด็กนอนยังไม่หลับ กินตับเสียเถิด อ้ายตุ๊กแกเอย”
56
เป็นบทเพลงที่กล่อมให้เด็กนอนหลับ ถ้าไม่นอนตุ๊กแกจะมากินตับ นอกจากนั้น เมื่อเราเห็นอะไรมีลายเลอะเทอะไม่น่าดู มักจะพูดว่าลายเป็นตุ๊กแก เช่น ทาแป้งลายพร้อย หน้าลายเป็นตุ๊กแก หรือใส่เสื้อลายพร้อยเป็นตุ๊กแก นอกจากเปรียบสีสัน แล้วยังเปรียบความเหนียวของตุ๊กแก เช่น “มือเหนียวยังกะตีนตุ๊กแก”
57
4.3 บันทึกโดยการคัดลอกทำอัญพจน์ (Quotation Note) จะต้องเป็นข้อความที่สำคัญ เป็นความจริง หรือเป็นข้อคิดเห็นของผู้มีชื่อเสียง ที่น่าเชื่อถือได้ หรือเป็นข้อความถ้อยคำสำนวน ที่ควรจดจำและนำไปใช้ ดังตัวอย่างบันทึก การอ่านโดยการคัดลอกทำอัญพจน์จากหนังสือ
58
ทรีลิส, จิม. การอ่านหนังสือให้ลูกฟัง
ทรีลิส, จิม. การอ่านหนังสือให้ลูกฟัง. แปลจาก The Read - Aloud Handbook” โดยนิดา หงษ์วิวัฒน์, กรุงเทพมหานคร: แสงแดด, หน้า 7-8 “การอ่านเป็นทักษะที่จะต้องฝึก เช่นเดียวกับ ทักษะอื่น ๆ โดยทั่ว ๆ ไป ซึ่งยิ่งฝึกฝนมาก ก็ยิ่งมีทักษะมาก ในทางตรงกันข้าม ยิ่งทิ้งไว้ ก็ยิ่งจะเรื้อ”
59
สิ่งที่ควรคำนึงในการจดคำบรรยาย
1. จดสาระสำคัญให้อ่านง่าย เข้าใจได้ เมื่อมา ทบทวนภายหลัง 2. ใช้คำย่อ หรือ สัญญลักษณ์ 3. สังเกตวิธีการสอนของอาจารย์ 4. สิ่งที่อาจารย์เขียนบนกระดาน หรือแผ่นใส่ มักจะเป็นประเด็นสำคัญ 5. ใช้ย่อหน้า เว้นวรรค เพื่อเน้นความสำคัญ
60
6. ลงวันที่ และหัวข้อการบรรยายทุกชั่วโมง
7. จดคำบรรยายเฉพาะด้านขวา ด้านซ้ายเอาไว้โน้ต หรือบรรยายจากการอ่านหนังสือ 8. จดข้อสงสัย และหาโอกาสซักถาม 9. สังเกตน้ำเสียงของอาจารย์ 10. อ่านหนังสือเพิ่มเติม ทบทวนบทเรียนทันที ที่มีโอกาส
61
คุณลักษณะ ของบัณฑิต ในอุดมคติไทย
62
- มีน้ำใจ เอื้อเฟื่อ เผื่อแผ่ - ครองตน ครองคน ครองงาน
43 - มีความรับผิดชอบ - มีเมตตากรุณา - มีน้ำใจ เอื้อเฟื่อ เผื่อแผ่ - ครองตน ครองคน ครองงาน - เก่งคน เก่งงาน เก่งคิด เก่งดำเนินชีวิต - วิสัยทัศน์ก้วางไกล - มีความรู้และการตัดสินใจที่ดี - มีคุณธรรม/จริยธรรม
63
- มีมนุษยสัมพันธ์ดี - ยิ้มแย้มแจ่มใส - ซื่อสัตย์ ขยันหมั่นเพียร - คนดี คนเก่ง คนมีคุณภาพ - ขยันใฝ่รู้ - มีความสุภาพ อ่อนน้อม ถ่อมตน - ประหยัด อดออม อดทน
64
- มีความสามัคคี - ยึดคุณธรรม/จริยาบรรณของวิชาชีพ - มารยาทงาม - รักษาสมบัติส่วนรวม - มีความเป็นผู้นำ - มีบุคลิกภาพที่ดี สง่างาม - กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
65
- กล้าคิด กล้าทำในสิ่งที่สังคมยอมรับ
- มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ - มีความรู้ทันข้อมูลข่าวสารจากภายนอก - กล้าพูด กล้าแสดงความคิดเห็น - มีวินัย - มีความรู้เชี่ยวชาญทำงานได้ในวิชาชีพ ที่ตนศึกษา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.