งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546

2 จัดระเบียบกระทรวง ศึกษาธิการ 1. ระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง
การจัดระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการ จัดระเบียบกระทรวง ศึกษาธิการ 1. ระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง 2. ระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา 3. ระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล

3 ม.9 ให้จัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง ดังนี้ สำนักงานปลัดกระทรวง
ส่วนราชการที่หัวหน้าส่วนขึ้นตรงต่อ รมต.

4 ม.10 แบ่งส่วนราชการในส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการ มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อ รมต. มีอำนาจ เกี่ยวกับ ราชการ ทางการเมือง สำนัก งาน รัฐ มน ตรี สำนัก งาน ปลัด กระ ทรวง สำนัก งาน เลขา ธิการ สภา การ ศึกษา สำนัก งาน คณะ กรรมการ ศึกษา ขั้น พื้นฐาน สำนัก งาน คณะ กรรมการ อุดม ศึกษา สำนัก งาน คณะ กรรมการ อาชีว ศึกษา เป็นนิติบุคคล เป็นกรมตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน การแบ่งส่วนราชการภายในให้ออกเป็นกฎกระทรวง

5 ม.14 ให้สภาการศึกษา มีหน้าที่ เสนอแผนการศึกษา
เสนอนโยบาย แผน มาตรฐานการศึกษา ประเมินผล การจัดการศึกษา ให้ความเห็น คำแนะนำเรื่องกฎหมาย และกฎกระทรวงที่เกี่ยวกับการศึกษา

6 ม.22 กรณีเขตพื้นที่ - ไม่อาจบริการและจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน - และระดับอุดมศึกษาต่ำกว่าปริญญาบางประการ - สำหรับบุคคลบกพร่องร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพ - การศึกษานอกระบบ - ความสามารถพิเศษ - การจัดการศึกษาทางไกล การให้บริการเขตพื้นที่การหลายเขต - ระดับต่ำกว่าปริญญาตรีรูปแบบวิทยาลัยชุมชนและรูปแบบอื่น สำนักงานปลัดจัดแทน

7 การจัดระเบียบราชการในสำนักงาน
- เลขาธิการมีฐานะเทียบเท่าปลัดกระทรวง เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของแต่ละส่วนราชการนั้น ๆ - มีรองเลขาธิการช่วยปฎิบัติราชการหรือผู้ช่วยเลขาธิการหรือตำแหน่งเรียกชื่ออย่างอื่นมีอำนาจหน้าที่ตามที่เลขาธิการมอบหมาย การจัดระเบียบราชการในสำนักงาน สภาการศึกษา สพฐ. อาชีวศึกษา อุดมศึกษา มี รมต. เป็นผู้บังคับบัญชา คณะกรรมการ กพฐ. มีจำนวนไม่เกิน 27 คน

8 เขตพื้นที่มีคณะกรรมการอยู่ 3 คณะ
คณะกรรมการเขตพื้นที่ มีจำนวน 15 คน หรือ 17 คน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ คน คณะ กตปน. มีจำนวน 9 คน

9 โดยคำแนะนำสภาการศึกษา ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
การกำหนดเขตพื้นที่ รมต. โดยคำแนะนำสภาการศึกษา ประกาศในราชกิจจานุเบกษา สพม. จำนวน 42 เขต สพป. จำนวน 183 เขต รวมเขตพื้นที่การศึกษามีจำนวนทั้งสิ้น 225 เขต

10 ระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
ให้จัดระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา 1.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 2.สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือส่วนราชการเรียกอย่างอื่น

11 การแบ่งส่วนราชการสำนักงานเขต การแบ่งส่วนราชการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ให้จัดทำเป็นประกาศ กระทรวง โดยคำแนะนำของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การแบ่งส่วนราชการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่ แต่ละเขตกำหนด

12 สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตาม ม34 (2) เฉพาะที่เป็นโรงเรียนมีฐานะเป็นนิติบุคคล หากยุบเลิกโรงเรียนให้ความเป็นนิติบุคคลสิ้นสุดลง

13 คณะกรรมการสถานศึกษา ประกอบด้วย
กรรมการสถานศึกษา ขนาดเล็ก จำนวน 9 คน ขนาดใหญ่ 15 คน ผู้แทนผู้ปกครอง  ผู้แทนครู  ผู้แทนองค์กรชุมชน  ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ผู้แทนศิษย์เก่าของสถานศึกษา  ผู้แทนพระภิกษุ สงฆ์ และหรือ  ผู้แทนองค์กรศาสนาอื่นในเขตพื้นที่  ผู้ทรงคุณวุฒิ  ผู้บริหารสถานศึกษา เป็นกรรมการและเลขานุการ

14 การจัดระเบียบบริหารราชการ ในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษา ระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล
ระเบียบปฏิบัติราชการหรือระเบียบปฏิบัติงานของสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคลทั้งที่เป็นสถานศึกษาในสังกัดและที่เป็นสถานศึกษาในกำกับ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการดังกล่าว ม.40 ให้มีคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย เรียกย่อว่า ก.ม. ทำหน้าที่เป็นองค์กรบริหารงานบุคคลสำหรับข้าราชการพลเรือนในสถนศึกษาของรัฐ ระดับอุดม ระดับปริญญา ม.42

15 คณะกรรมการเขตพื้นที่ สำนักงานเขตพื้นที่ สถานศึกษา
การปฏิบัติราชการแทน ปลัดกระทรวง เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการอาชีวศึกษา ม.44 กระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา 1. ด้านวิชาการ 2. ด้านงบประมาณ 3. ด้านการบริหารงานบุคคล 4. ด้านการบริหารทั่วไป คณะกรรมการเขตพื้นที่ สำนักงานเขตพื้นที่ สถานศึกษา เป็นกรณีที่มีผู้ดำรงตำแหน่งอยู่แต่มอบอำนาจให้ผู้อื่นปฎิบัติแทน

16 การปฎิบัติราชการแทน ผู้รับมอบจะมอบ อำนาจนั้น ให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งอื่น ต่อไม่ได้ เว้น การมอบอำนาจ ของ รมต. ปลัดกระทรวง เลขาธิการให้ ผู้ว่าราชการจังหวัด จะมอบอำนาจนั้นต่อไป ตาม กม. ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินได้  การมอบอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัดให้แก่รองผู้ว่าหรือผู้ช่วยผู้ว่าให้ผู้ว่าแจ้งให้ผู้มอบชั้นต้นทราบ  การมอบอำนาจให้แก่ บุคคลอื่น นอกจากรองผู้ว่าหรือผู้ช่วยผู้ว่า ได้ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากผู้มอบชั้นต้น

17 การรักษาราชการแทน รักษาราชการแทน ผอ.เขตพื้นที่ ถ้ามีรองผอ.เขตคนเดียว รอง ผอ.เขต รักษาราชการแทน ถ้ามีรองหลายคน เลขาธิการกพฐ.สั่ง ม.53 รักษาราชการแทน ผอ.สถานศึกษา ถ้ามีรองคนเดียว รอง ผอ.สถานศึกษา รักษาราชการแทน มีหลายคน ผอ.เขตสั่ง ม.54 เป็นกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้


ดาวน์โหลด ppt พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google