ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยวิชัย บุตโต ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
กลุ่มส่งเสริมยางพาราและปาล์มน้ำมัน สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
2
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม
ที่มา ราคายางตก ไม่มีเสถียรภาพ เกษตรกร อยากมีรายได้เพิ่มขึ้นเพียงพอต่อการดำรงชีพ โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม ปริมาณการผลิต สูงกว่าปริมาณการใช้ยางธรรมชาติ ลดพื้นที่การปลูก และให้เกษตรกรทดลองทำกิจกรรมอื่นนอกเหนือ จากการปลูกยาง เกษตรกรสามารถพึ่งพาตัวเองได้ ผู้แทนภาคเกษตรกรอยากให้มีแหล่งเงินทุนเพิ่ม งบประมาณรัฐบาลสนับสนุนมีจำกัด
3
เงื่อนไขแนวคิดการดำเนินการโครงการ
สนับสนุนสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ ครัวเรือน ละไม่เกิน 1 แสน โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม พอเพียง ยั่งยืน ระยะเวลาการชำระเงินกู้ยาวกว่าปกติ เกิดจากความต้องการ ของเกษตรกร รัฐให้ความรู้ ด้านการผลิต การตลาด การจัดการ และเลือกผลิตสินค้าที่เหมาะสมในพื้นที่ เจ้าหน้าที่ร่วมวางแผนวิเคราะห์ การผลิต เพื่อลดปัญหาสินค้าล้นตลาดและฝึกให้เกษตรกรรู้จัดวางแผนการผลิต
4
ผลการดำเนินการโครงการ
เชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ - จัดทำทางเลือกอาชีพเสริมสำหรับเกษตรกรรายย่อยที่ผู้ปลูกยางพารา - ฝึกให้เกษตรกรมีการประเมินศักยภาพตนเองมีการวางแผน ประเมินการตลาด วิเคราะห์สภาพพื้นที่ วิเคราะห์ความเสี่ยง และพึ่งพาตนเองได้ในระดับหนึ่ง - พัฒนาเจ้าหน้าที่ด้านวิชาการในเรื่องการวางแผน เทคโนโลยีการผลิต การตลาด และบัญชีครัวเรือน - การศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อโครงการฯ และความคิดเกษตรกรชาวสวนยางต่อการเข้าร่วมโครงการฯ - เกิดจุดเรียนรู้การประกอบอาชีพเสริมในสวนยาง 56 จังหวัด 400 จุด จากเกษตรกรชาวสวนยางที่ประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพเสริม - เกษตรกรสนใจสมัครเข้าร่วมโครงการ 196,820 ครัวเรือน 64 จังหวัด (เจ้าหน้าที่ให้คำแนะนำในการประกอบอาชีพเสริม) - คณะกรรมการบริหารโครงการฯ เห็นชอบแผนการผลิต 192,830 ครัวเรือน - จ่ายสินเชื่อให้กับเกษตรกรแล้ว จำนวน 131,324 ครัวเรือน - เกษตรกรได้รับการอบรมตามสาขาที่เลือก 78,403 ราย
5
เกษตรกรสมัครเข้าร่วมโครงการ แยกตามกิจกรรม โครงการสนับสนุนสินเชื่อฯ (64 จังหวัด)
ร้อยละ หมวดปศุสัตว์ 61.28 หมวดพืชไร่ 10.62 หมวดประมง 9.12 หมวดพืชผัก 5.93 หมวดไม้ผล 5.42 หมวดไม้ยืนต้น 1.18 หมวดพืชสมุนไพร 0.37 หมวดดินและปุ๋ย 0.29 หมวดการแปรรูปอาหาร 0.26 หมวดการแปรรูปที่ไม่ใช่อาหาร 0.21 หมวดไม้ดอก ไม้ประดับ 0.15 หมวดแมลงเศรษฐกิจ 0.14 หมวดอื่นๆ 5.03
6
ผลการศึกษาความคิดเห็นเกษตรกรชาวสวนยาง
ต่อการเข้าร่วมโครงการสนับสนุนสินเชื่อชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม กลุ่มตัวอย่างเกษตรกรชาวสวนยาง จากจังหวัดบึงกาฬ จังหวัดตราด จังหวัดเชียงราย จังหวัดกระบี่ จำนวน 91 ราย ปัจจัยการตัดสินใจสมัครเข้าร่วม โครงการฯ (กลุ่มตัวอย่าง) - ด้านสินเชื่อ เกษตรกร ให้ความสำคัญเรื่องวงเงินกู้ และอัตราดอกเบี้ย % - ขนาดวงเงินสินเชื่อ เกษตรกร เห็นว่าวงเงินกู้ รายละไม่เกิน 100,000 บาท พอดีแล้ว % - อัตราดอกเบี้ย เกษตรกร เห็นด้วยกับอัตรา ที่โครงการกำหนด (อัตราร้อยละ 5 บาท ต่อปี เกษตรกรจ่าย 2 บาท รัฐสนับสนุน 3 บาท) % - ระยะผ่อนชำระ เห็นด้วยกับระยะผ่อนชำระที่โครงการกำหนด ( ไม่เกิน 5 ปี ) % - การค้ำประกัน เกษตรกร ส่วนใหญ่ เห็นด้วยกับวิธีการการ ค้ำประกันของธนาคารในระบบปกติของ ธ.ก.ส % - ระยะเวลาในการรอการอนุมัติ พบว่า เกษตรกร ส่วนใหญ่ เห็นด้วยกับระยะเวลาที่ต้องรอการอนุมัติ ร้อยละ % - ความยุ่งยากในการขอสินเชื่อ พบว่า เกษตรกร เห็นว่าไม่ยุ่งยากมากนัก 53.85%
7
ผลการศึกษาความคิดเห็นเกษตรกรชาวสวนยาง
ต่อการเข้าร่วมโครงการสนับสนุนสินเชื่อชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม (ต่อ) วิธีการ
8
ด้านการคาดหวังของเกษตรกรจากการเข้าร่วมโครงการ
ผลการศึกษาความคิดเห็นเกษตรกรชาวสวนยาง ต่อการเข้าร่วมโครงการสนับสนุนสินเชื่อชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม (ต่อ) ด้านการคาดหวังของเกษตรกรจากการเข้าร่วมโครงการ
9
ด้านการคาดหวังของเกษตรกรจากการเข้าร่วมโครงการ (ต่อ)
ผลการศึกษาความคิดเห็นเกษตรกรชาวสวนยาง ต่อการเข้าร่วมโครงการสนับสนุนสินเชื่อชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม (ต่อ) ด้านการคาดหวังของเกษตรกรจากการเข้าร่วมโครงการ (ต่อ)
10
ผลการศึกษาความพึงพอใจที่มี
ต่อโครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม กลุ่มตัวอย่าง เกษตรกรชาวสวนยางจากภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคเหนือ จำนวน 510 ราย
11
ผลการศึกษาความพึงพอใจที่มี
ต่อโครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม (ต่อ)
12
ผลการศึกษาความพึงพอใจที่มี
ต่อโครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม (ต่อ)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.