ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยวิรัช สมิธ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม
โดย กรมส่งเสริมการเกษตร (กสก.) การยางแห่งประเทศไทย (กยท.) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)
2
ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนโครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
การประชาสัมพันธ์โครงการ รับสมัครเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ตรวจสอบคุณสมบัติของเกษตรกร 1 2 3 โคย : สนง.เกษตรอำเภอ/ธ.ก.ส./สกย. สมัครได้ที่ : สนง.เกษตรอำเภอ โดย : สนง.เกษตรอำเภอ จัดทำแผนการผลิต/แผนธุรกิจอาชีพเสริม ชี้แจงและแนะนำข้อมูลทางเลือก ในการประกอบอาชีพเสริม จัดทำบัญชีรายชื่อชาวสวนยางพารา “แผนธุรกิจ” 6 5 4 โดย : สนง.เกษตรอำเภอ โดย :เกษตรกรชาวสวนยางพารา โดย : สนง.เกษตรอำเภอ/ธ.ก.ส./สกย. พิจารณาแผนธุรกิจในการประกอบอาชีพเสริมของเกษตรกร การพิจารณาการให้สินเชื่อ 7 8 ติดต่อขอรับรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ ธ.ก.ส. ทุกสาขา ทั่วประเทศ ธ.ก.ส. Call Center : โดย : คณะกรรมการบริหารโครงการระดับจังหวัด โดย : ธ.ก.ส. สาขา
3
ข้อมูล สะสมในปีบัญชีถึง : 22/12/2559 ประเภทข้อมูล รวมทุกกลุ่มลูกค้า
ผลการดำเนินงานโครงการสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม ข้อมูล รวมทั้งประเทศ ข้อมูล สะสมในปีบัญชีถึง : 22/12/2559 ประเภทข้อมูล รวมทุกกลุ่มลูกค้า ภาค จ่ายเงินกู้ ต้นเงินคงเป็นหนี้คงเหลือ NPL %NPL/ยอดจ่าย %NPL/LOAN สัญญา จำนวนเงิน ภาคเหนือตอนบน 3,940 363.31 3,526 285.62 6.10 1.68 2.13 ภาคเหนือตอนล่าง 973 89.46 831 68.98 1.09 1.22 1.59 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 36,558 3,229.45 33,467 2,606.64 40.25 1.25 1.54 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 14,118 1,273.15 13,303 1,054.68 19.20 1.51 1.82 ภาคกลาง 9 0.75 5 0.38 0.00 ภาคตะวันออก 5,996 489.19 4,649 346.64 4.68 0.96 1.35 ภาคตะวันตก 1,511 134.64 1,044 82.81 1.85 1.38 2.24 ภาคใต้ตอนบน 21,076 1,976.70 17,619 1,438.90 24.70 1.72 ภาคใต้ตอนล่าง 49,259 4,609.76 45,488 3,738.65 13.54 0.29 0.36 สำนักกิจการนครหลวง 7 0.66 6 0.42 รวม 133,447 12,167.07 119,938 9,623.73 111.41 0.92 1.16 หน่วย: ล้านบาท
4
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม ณ 22 ธันวาคม 2559
เป้าหมายเกษตรกร จำนวน 130,000 ราย วงเงิน 13,000 ล้านบาท เป้าหมายเกษตรกรระยะที่ 1 จำนวน 100,000 ราย วงเงิน 10,000 ล้านบาท เป้าหมายเกษตรกรระยะที่ 2 จำนวน 30,000 ราย วงเงิน 3,000 ล้านบาท เกษตรกรสมัครเข้าร่วมโครงการระยะที่ 1 (ระยะเวลา 20 พฤศจิกายน มกราคม 2558) จำนวน 111,341 ราย วงเงิน 10,764 ล้านบาท เกษตรกรสมัครเข้าร่วมโครงการระยะที่ 2 (ระยะเวลา 17 สิงหาคม กันยายน 2558) จำนวน 61,348 ราย วงเงิน 6,102 ล้านบาท คกก. จังหวัด พิจารณาเห็นชอบ จำนวน 100,304 ราย วงเงิน 9,220 ล้านบาท คกก. จังหวัดพิจารณาไม่เห็นชอบ/ทบทวน จำนวน 11,037 ราย วงเงิน 1,544 ล้านบาท คกก. จังหวัดรอพิจารณา จำนวน - ราย วงเงิน - ล้านบาท คกก. จังหวัด พิจารณาเห็นชอบ จำนวน 61,348 ราย วงเงิน 6,102 ล้านบาท คกก. จังหวัดพิจารณาไม่เห็นชอบ/ทบทวน จำนวน ราย วงเงิน - ล้านบาท คกก. จังหวัดรอพิจารณา จำนวน - ราย วงเงิน - ล้านบาท ส่งข้อมูลให้ ธ.ก.ส. แล้ว จำนวน 100,304 ราย วงเงิน 9,220 ล้านบาท ยังไม่ได้ส่งข้อมูลให้ ธ.ก.ส. จำนวน ราย วงเงิน ล้านบาท ส่งข้อมูลให้ ธ.ก.ส. แล้ว จำนวน 61,348 ราย วงเงิน 6,102 ล้านบาท ยังไม่ได้ส่งข้อมูลให้ ธ.ก.ส. จำนวน ราย วงเงิน ล้านบาท ธ.ก.ส. จ่ายเงินกู้แล้ว จำนวน ,274 ราย วงเงิน 6,730 ล้านบาท อยู่ระหว่างพิจารณาให้สินเชื่อ จำนวน - ราย วงเงิน - ล้านบาท ไม่ผ่านหลักเกณฑ์การให้สินเชื่อ จำนวน 25,030 ราย วงเงิน 2,490 ล้านบาท ธ.ก.ส. จ่ายเงินกู้แล้ว จำนวน ,173 ราย วงเงิน 5,437 ล้านบาท อยู่ระหว่างพิจารณาให้สินเชื่อ จำนวน - ราย วงเงิน - ล้านบาท ไม่ผ่านหลักเกณฑ์การให้สินเชื่อ จำนวน 3,175 ราย วงเงิน 665 ล้านบาท สรุปการสนับสนุนทั้ง 2 ระยะในส่วนของ ธ.ก.ส. ธ.ก.ส. รับข้อมูลจากคณะกรรมการจังหวัดพิจารณา 161,652 ราย วงเงิน 15,322 ล้านบาท ธ.ก.ส. จ่ายเงินกู้แล้ว ,447 ราย วงเงิน 12,167 ล้านบาท อยู่ระหว่างการพิจารณาให้สินเชื่อ ราย วงเงิน ล้านบาท ไม่ผ่านหลักเกณฑ์การให้สินเชื่อ 28,205 ราย วงเงิน 3,155 ล้านบาท ไม่ผ่านหลักเกณฑ์การให้สินเชื่อ หลักประกันไม่เพียงพอ 7,584 ราย วิเคราะห์งบกระแสเงินสดไม่ผ่าน 5,308 ราย ลูกค้าถอนความประสงค์ในการขอกู้ 10,619 ราย อื่น ๆ (เข้าใจว่าเป็นเงินให้เปล่า) 4,694 ราย
5
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกร ชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม ลำดับ ประเด็นปัญหา ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 1. ในระยะแรกได้มีเกษตรกรที่สมัครเข้าร่วมโครงการบางส่วนเข้าใจคลาดเคลื่อนในหลักเกณฑ์เงื่อนไขและวัตถุประสงค์โครงการ โดยเข้าใจว่าเป็นเงินที่รัฐบาลสนับสนุนแบบจ่ายขาด แต่เมื่อทราบว่าเป็นเงินให้กู้ดอกเบี้ยต่ำ จึงขอถอนความประสงค์ไม่เข้าร่วมโครงการ - หน่วยงานที่เกี่ยวข้องชี้แจงทำความเข้าใจในหลักเกณฑ์เงื่อนไขและรายละเอียดของโครงการจนเป็นที่พอใจ 2. การปรับเปลี่ยนแผนการผลิตหรือแผนธุรกิจระหว่างพิจารณาสนับสนุนสินเชื่อไม่ตรงกับแผนการผลิตที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองให้ความเห็นชอบโดยคณะกรรมการบริหารโครงการระดับจังหวัด ทำให้ต้องกลับไปทบทวนแผนและเสนอพิจารณาใหม่ จึงทำให้เกษตรกรชะลอการตัดสินใจขอรับการสนับสนุนสินเชื่อตามโครงการ - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรชี้แจงและช่วยจัดทำแผนการผลิตหรือแผนธุรกิจตามความสมัครใจของเกษตรกรก่อนนำเสนอคณะกรรมการบริหารโครงการระดับจังหวัด
6
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกร ชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม ลำดับ ประเด็นปัญหา ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 3. การกำหนดวัตถุประสงค์ของการกู้เงินตามโครงการ ต้องเป็นการประกอบอาชีพการเกษตรหรือเกี่ยวเนื่องการเกษตรเท่านั้น ไม่ได้รวมถึงการประกอบอาชีพอย่างอื่นนอกภาคการเกษตร ทำให้ไม่สามารถสนับสนุนสินเชื่อได้ - เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของโครงการที่กำหนดตามเมนูทางเลือกที่ กรมการส่งเสริมการเกษตร (กสก.) จัดทำ 4. เกษตรกรหรือไม่สามารถจัดหาบุคคลค้ำประกันได้ หรือไม่สามารถจัดหาหลักประกันได้เพียงพอกับวงเงินที่ขอกู้ - การสนับสนุนสินเชื่อของ ธ.ก.ส. ผู้ขอกู้ต้องจัดหาหลักประกันอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างมาเป็นประกันหนี้ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขของโครงการ ซึ่งไม่อาจผ่อนปรนได้เนื่องจากจะขัดกับพระราชบัญญัติ ธ.ก.ส.
7
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกร ชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม ลำดับ ประเด็นปัญหา ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 5. เกษตรกรไม่มีความสามารถในการชำระหนี้คืนได้ (วิเคราะห์กระแสเงินสดไม่ผ่าน) - เกษตรกรบางส่วนมีภาระหนี้เดิมกับ ธ.ก.ส. หรือสถาบันการเงินอื่นอยู่จำนวนมาก เมื่อวิเคราะห์รายได้ – รายจ่ายทั้งระบบแล้ว ไม่มีความสามารถในการชำระหนี้คืนได้ 6. การเสนอแผนการผลิตหรือแผนธุรกิจไม่สอดคล้องกับวงเงินที่ขอกู้ และบางพื้นที่มีลักษณะเลียนแบบกัน ซึ่งไม่มีการตรวจสอบการใช้เงินกู้อย่างจริงจัง - คณะกรรมการบริหารโครงการระดับจังหวัดพิจารณาแผนการผลิตหรือแผนธุรกิจไม่ละเอียดถี่ถ้วนพอควร เนื่องจากบางพื้นที่มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการจำนวนมาก รวมถึงไม่มีมาตรฐานผลผลิตและค่าลงทุนที่ชัดเจน เพื่อใช้ในการวิเคราะห์วงเงินกู้ตามแผนการผลิตหรือแผนธุรกิจ
8
สวัสดีครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.