ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ครูกับการออกแบบการเรียนรู้ สู่คุณภาพเด็กไทย
ครูกับการออกแบบการเรียนรู้ สู่คุณภาพเด็กไทย
2
กิจกรรมที่ 1 ทดสอบก่อนอบรม
1. ให้ท่านทำแบบทดสอบแบบเลือกตอบจำนวน 20 ข้อ ให้ท่านทำเครื่องหมาย X ลงบนกระดาษคำตอบที่ตรงกับตัวเลือกที่ท่านเลือก (เวลา 10 นาที)
3
กรอบการบรรยาย 1. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษา
2. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ 3. เทคนิคการสอน 4. สื่อการสอน 5. การวัดผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน
4
การปฏิรูปการศึกษา ผู้เรียน แนวคิดและ ความเชื่อ ผู้สอน
เกี่ยวกับ ผู้เรียน กระบวนการเรียนรู้ ผู้สอน
5
หัวใจของการพัฒนา คุณภาพการศึกษา
การพัฒนากระบวนการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ฉลาด เป็นคนดีและมีความสุข
6
องค์ประกอบ ของการจัดการศึกษา
องค์ประกอบ ของการจัดการศึกษา O : Objective L : Learning Experience E : Evaluation
7
เป้าหมาย ของการจัดการศึกษา
เป้าหมาย ของการจัดการศึกษา O - Objective
8
คุณภาพของผู้เรียน ความรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ
มาตรฐาน การเรียนรู้ และตัวชี้วัด กลุ่มสาระ การเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5 สมรรถนะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตัว
9
พฤติกรรมการเปลี่ยนแปลง
พุทธิพิสัย(Cognitive) จิตพิสัย (Affective) ทักษะพิสัย(Psychomotor)
10
1. การวิเคราะห์หลักสูตร
1. ศึกษาจุดมุ่งหมายของหลักสูตร 2. ศึกษาสาระในกลุ่มสาระการเรียนรู้ 3. ศึกษามาตรฐาน/ตัวชี้วัด 10
11
ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์หลักสูตร
สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระที่ 1 สาระที่ 2 สาระที่ 3 สาระที่ 4 11
12
ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์หลักสูตร
หน่วย มาตรฐาน ตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 4 12
13
ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์หลักสูตร
หน่วย จุดประสงค์ หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 4 13
14
การจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ L – Learning Experience
การจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ L – Learning Experience
15
การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้
การเรียนแบบเดิม บอก ครู นักเรียน จำ ความรู้จาก ที่ครูบอก
16
การเรียนแบบใหม่: การเรียนเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่
ความอยากรู้ อยากเห็น นักเรียน การสร้างความรู้ ใหม่ด้วยตนเอง (construct) นำไปสู่ ความรู้และ ประสบการณ์เดิม กิจกรรมการเรียน การสอน
17
หลักการจัดการเรียนรู้
ยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสำคัญเชื่อว่า ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความสำคัญทั้งความรู้และคุณธรรม
18
การออกแบบการจัดการเรียนรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะที่ พึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ ที่เหมาะสม เลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
19
ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
1. วิเคราะห์ ผู้เรียน 7. วิเคราะห์ผล การประเมิน 2. กำหนด เป้าหมาย บทบาท ของผู้สอน 6. ประเมิน 3. ออกแบบ การเรียนรู้ 5. เลือกใช้สื่อ 4. จัดบรรยากาศ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
20
บทบาทของผู้เรียน 1. กำหนดเป้าหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง 2. เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้ 3. ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่เรียนรู้ด้วยตนเอง และนำความรู้ ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ 4. มีปฏิสัมพันธ์ ทำงาน ทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มและครู 5. ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
21
กิจกรรมที่ 2 การวิเคราะห์ผู้เรียน
1. ให้ท่านทำใบงานที่ 1 สำรวจตนเองเกี่ยวกับการเรียนรู้ ให้ท่านทำเครื่องหมาย ลงในช่อง ใช่ กับไม่ใช่ ในแบบสำรวจที่ตรงกับวิธีการเรียนที่ตนเองถนัดในแต่ละข้อ
22
ลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียน
เรียนรู้จากการฟังเป็นหลัก(Auditory) เรียนรู้จากการเคลื่อนไหวเป็นหลัก(Kinesthetic) เรียนรู้จากการพูดเป็นหลัก(Verbal) เรียนรู้จากการเห็นเป็นหลัก(Visual)
23
การจัดกระบวนการเรียนรู้ของครูมืออาชีพ
1. จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ 2. จัดสาระกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของเด็ก
24
3. ให้ผู้เรียนได้คิด ฝึกปฏิบัติเรียนรู้ จากประสบการณ์จริง
4. จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ 5.ใช้เทคนิคการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้
25
เทคนิควิธีสอน 1. การสอนโดยวิธีการเป็นคู่ 2. การสอนแบบโครงงาน
3. การสอนตามแนว Constructivism 4. การสอนโดยใช้เทคนิคแผนผังทาง ปัญญา(Mind Mapping)
26
การจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ
การจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ CIPPA Model Construct : ผู้เรียนได้สร้างความรู้ด้วยตนเอง Interaction : ผู้เรียนได้ปฏิสัมพันธ์ช่วยกันเรียนรู้
27
Participation : ผู้เรียนมีบทบาทและส่วนร่วม ในการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
Process : ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการ (Process) ควบคู่กับผลงาน(Product) Application : ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้ไปใช้
28
การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
การร่วมมือกันทำงานเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย ซึ่งทุกคนยอมรับจุดมุ่งหมายร่วมกันและเมื่อพัฒนาสำเร็จแล้วส่งผลให้ผู้ร่วมงานเกิดความพอใจ
29
การเรียนแบบร่วมมือ แนวคิดสำคัญ 6 ประการ 1. เป็นกลุ่ม/ทีม
แนวคิดสำคัญ 6 ประการ 1. เป็นกลุ่ม/ทีม 2. มีความเต็มใจ 3. มีการจัดการ 4. มีทักษะสังคม
30
1.3 มีส่วนร่วมเท่าเทียมกัน
หลักการพื้นฐาน 4 ประการ 1.1 พึ่งพาอาศัยกันเชิงบวก 1.2 มีความรับผิดชอบ 1.3 มีส่วนร่วมเท่าเทียมกัน 1.4 มีปฏิสัมพันธ์
31
การสอนโดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือ
(Cooperative Learning) - TAI - JIGSAW - STAD - ฯลฯ
32
การศึกษาเทคนิคการสอนการเรียน แบบร่วมมือ ใช้เวลา 30 นาที
กิจกรรม การศึกษาเทคนิคการสอนการเรียน แบบร่วมมือ ใช้เวลา 30 นาที
33
ควรใช้การเรียนแบบร่วมมือ พัฒนา
1. ทักษะการปัญหา 2. ทักษะการกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ 3. ทักษะการคิดแบบหลากหลาย 4. เน้นคุณภาพงาน 5. เสริมสร้างประชาธิปไตยในชั้นเรียน
34
สื่อการสอน
35
สื่อการสอน เป็นสิ่งที่ใช้เป็นเครื่องมือ หรือช่องทางสำหรับทำให้การเรียนการสอนส่งไปถึงผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ผู้สอนได้วางไว้
36
คุณค่าของสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา: ต่อผู้เรียน
เป็นสิ่งที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพในเวลาอันรวดเร็ว สื่อช่วยกระตุ้นและสร้างความสนใจให้กับผู้เรียน การใช้สื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจตรงกัน ช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนมากยิ่งขึ้น สามารถช่วยแก้ปัญหาเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
37
คุณค่าของสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา: ต่อผู้เรียน
เป็นการช่วยให้บรรยากาศการสอนน่าสนใจยิ่งขึ้น ช่วยแบ่งเบาภาระครูในการเตรียมเนื้อหา เพราะบางครั้งนักเรียนสามารถศึกษาเนื้อหาจากสื่อได้เอง เป็นการกระตุ้นให้ผู้สอนตื่นตัวอยู่เสมอในการเตรียมวัสดุใหม่ๆ เพื่อใช้เป็นสื่อการสอน
38
การเลือกใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
เป็นสื่อที่ตรงตามเนื้อหาที่จะสอน หรือตรงตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ เป็นสื่อมีความถูกต้องทั้งเนื้อหา และภาษาที่ใช้ เป็นสื่อที่มีความทันสมัย ราคาเหมาะสมกับการลงทุน
39
นวัตกรรม: สื่อ เอกสารประกอบการสอน บทเรียนสำเร็จรูป ชุดการสอน วีดีทัศน์
สไลด์ เทปเพลง-เสียง ใบงาน / ใบความรู้
40
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
บนหลักการพื้นฐาน 2 ประการ เป้าหมายหลักในการวัดและประเมินการเรียนรู้ ในทุกระดับ การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน การตัดสินผลการเรียน ตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์ สะท้อนคุณภาพผู้เรียน
41
การประเมินระดับชั้นเรียน
แนวทาง อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย อาจใช้การประเมินจากหลายแหล่ง ในกรณีที่ไม่ผ่านตัวชี้วัดให้มีการสอนซ่อมเสริม
42
เทคคนิคการวัดและประเมินผล
1. การสังเกตพฤติกรรมการแสดงออก 2. การประเมินผลงาน กระบวนการ บันทึกของผู้เรียน การตรวจการบ้านและแฟ้มผลงาน (Portfolio) 3. การซักถาม 4. การประเมินโครงงาน 5. การประเมินโดยใช้แบบทดสอบ
43
วิธีการวัดและประเมินผล
1. การประเมินโดยครูผู้สอน 2. การประเมินตนเอง 3. การประเมินโดยเพื่อน 4. การประเมินโดยผู้ปกครอง
44
วิธีการวัดและประเมินผล
1. การประเมินโดยครูผู้สอน 2. การประเมินตนเอง 3. การประเมินโดยเพื่อน 4. การประเมินโดยผู้ปกครอง
45
การจัดการเรียนการสอนโดย เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
14 การจัดการเรียนการสอนโดย เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตัวชี้วัด 1. กิจกรรมการเรียนรู้หลากหลาย จัดได้ทุกเวลา 2. จัดปฏิสัมพันธ์ ทำงานกลุ่ม ฝึกปรับตน 3. บรรยากาศรื่นรมย์ จูงใจให้อยากเรียน 4. สื่อการเรียนปลุกเร้าให้เรียนรู้
46
การจัดการเรียนการสอนโดย เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
14 การจัดการเรียนการสอนโดย เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตัวชี้วัด 5. ครูรัก สนใจ และเข้าใจผู้เรียน 6. มีการพัฒนารอบด้าน วัดประเมินรอบด้าน 7. ใช้ธรรมชาติและชีวิตช่วยการเรียนรู้
47
การจัดการเรียนการสอนโดย เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
14 การจัดการเรียนการสอนโดย เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตัวชี้วัด 8. ยึดแก่นแท้ของการสอน ว่าคือ การเรียนรู้ของผู้เรียน 9. ให้เผชิญสถานการณ์ แก้ปัญหาด้วยตนเอง 10. ฝึกสติ กิริยาวาจา พัฒนาปัญญา กล่อมเกลาจิตใจ
48
การจัดการเรียนการสอนโดย เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
14 การจัดการเรียนการสอนโดย เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตัวชี้วัด 11. ให้เลียนแบบ ริเริ่ม สร้างศิลป์ จินตนาการ 12. ใช้บทเรียนฝึกฝนทักษะกระบวนการ 13. ผู้เรียนมีส่วนร่วมและได้รับการยอมรับ 14. สร้างสรรค์จุดเด่น ซ่อมเสริมจุดด้อย
49
ส ส สวัสดี วั วั ส ส ดี ดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.