งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี วันที่ 5 มกราคม 2561

2 สรุปผลการนิเทศงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2561 คปสอ.ไชโย กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ โรงพยาบาลไชโย แผนปฏิบัติการ ไตรมาสที่1 แผนการดำเนินการ จำนวนโครงการ อนุมัติ จำนวนงบประมาณ UC Non เงิน อื่นๆ แผน ผลการเบิกจ่าย (PP) บำรุง ระบุ แผนสุขภาพจังหวัด ( NCD สิ่งแวดล้อม R2R ) 4 2 827,537 816,437 - 11,100 589,334 222,631 แผนตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข นอกเหนือแผนสุขภาพจังหวัด 16 3 375,275 207,100 133,175 35,000 37,775 19,275 แผนภารกิจประจำ 275,173 257,473 17,700 รวม 22 5 1,477,985 1,281,010 161,975 627,109 241,906

3 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา แผนงานโครงการ การเสนอขออนุมัติโครงการยังไม่ครบตามแผน โครงการที่อนุมัติแล้วอยู่ในระหว่างดำเนินการ ผู้รับผิดขอบโครงการมีภาระงานหลายด้าน ผู้รับผิดชอบโครงการไม่รายงานผลการดำเนินงาน -ผู้รับผิดชอบโครงการเร่งรัดจัดทำโครงการ -หน่วยงานกำหนดแนวทางในการติดตามตามงานตามตามแนวทางที่ สสจ. กำหนดและชี้แจงเจ้าหน้าที่ความรับผิดชอบ -นำเรื่องเข้าเป็นวาระติดตามในการประชุมคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล

4 สสอ.ไชโย ผลการดำเนินการ - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการ
แผนปฏิบัติการ ไตรมาสที่1 หน่วยงาน จำนวนโครงการ อนุมัติ จำนวนงบประมาณ UC Non เงิน อื่นๆ แผน ผลการเบิกจ่าย (PP) บำรุง ระบุ สสอ.ไชไย 13 8 755,695 664,945 36,200 54,550 - 301,184 ผลการดำเนินการ - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการ

5 สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับจังหวัด รองที่ 1 ปีงบประมาณ 2561
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) 1. การดูแลโปรแกรมบัน ข้อมูลสุขภาพ(HOSxP, HOMC) - การบำรุงรักษา สำรอข้อมูล - การบันทึกข้อมูล และ ส่งออกข้อมูล สภาพเครื่องที่ใช้งานในการบันทึกข้อมูล มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการใช้งาน ส่งออกข้อมูลเพื่อนำเข้า Health Data Center ทุกวัน - ผู้รับผิดชอบบางงานยังมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนในการบันทึกข้อมูล เช่น แฟ้ม accident งานไอที ของ รพ. ชี้แจงการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และส่งข้อมูลที่ไม่ครบถ้วนทางอีเมลล์ให้ผู้รับผิดชอบงานทราบและแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้อง แจ้งในที่ประชุมทีมคุณภาพข้อมูลเวชระเบียนของโรงพยาบาล

6 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) 2. การดำเนินงานในบทบาทคณะกรรมการคุณภาพข้อมูลบริการสุขภาพ - ทีมพัฒนาคุณภาพ ข้อมูล Health Data Center (HDC) ทบทวนคำสั่งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพข้อมูล ปี 2561 มีแผนการดำเนินงาน ปี 2561 จะประชุมคณะกรรมการฯ เดือน กุมภาพันธ์ 2561 3. คุณภาพข้อมูล ตามตัวชี้วัดการ ตรวจราชการ - ข้อมูลสาเหตุการตายที่ไม่ทราบสาเหตุ ( ill-defined error) - ใช้ข้อมูลจากที่ว่าการอำเภอไชโย และ จากเทศบาลตำบลไชโย เพื่อนำมาปรับปรุงฐานข้อมูลการตายของ โรงพยาบาลไชโย ขอปีละ 1 ครั้ง - ill error ตายนอกสถานพยาบาล 100% จาก ill error ทั้งหมด (ข้อมูลจาก กยผ. เดือน ตค-พย 60) - จะทราบข้อมูลการตายเฉพาะคนที่อยู่ในอำเภอเท่านั้น แต่ถ้าคนไชโยอาศัยที่อื่นแล้วตาย จะไม่ทราบ - ให้คำปรึกษาหรือขอความร่วมมือ กับผู้รับผิดชอบงานการให้สาเหตุการตาย ของที่ว่าการอำเภอ และเทศบาล - ขอใช้ข้อมูลจาก กองยุทธศาสตร์และแผน ของกระทรวงสาธารณสุข

7 แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม
ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) 4.รูปแบบการใช้ประโยชน์จากศูนย์ข้อมูลอำเภอ - มีเว็บไซต์ ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร

8 สรุปผลการนิเทศงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ คปสอ.ไชโย กลุ่มงานควบคุมโรค ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อและภัยสุขภาพ โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง Primary Prevention 1 ผลการคัดกรอง DM ร้อยละ HT ร้อยละ 50.1 กลุ่มเสี่ยง DM ราย ร้อยละ 2.44 HT ราย ร้อยละ 9.9 2 แผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงลดโรค กิจกรรมเข้าค่าย ร้อยละ 20 HBPM > 10% 3 หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4 การสร้างกระแสบุคคลต้นแบบ คู่หูต้นแบบ มี 6 รพ.สต.ผลการคัดกรองต่ำถึงต่ำมาก 0.00 หลักฟ้า 0.87 ไชยภูมิ 1.จัดทำแผนการคัดกรองให้เสร็จภายในเดือน ม.ค. 61 2. สสอ. ติดตามกำกับ

9 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา Secondary Prevention 1. ผลการคัดกรอง CVD Risk เป้าหมาย 1,198 คัดกรองได้ 357 คิดเป็นร้อยละ 29.8 -ไม่พบสูงมาก / สูงอันตราย พบกลุ่มเสี่ยง ระดับ 2 = 29 ราย ระดับ 3 = 1 ราย 2 ผลการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางเท้าต่ำมาก ร้อยละ (มีแผนการดำเนินการไตรมาส 2) 3 ผลการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ร้อยละ 4. ผลการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต ร้อยละ 41.67 ผลการคัดกรองยังต่ำกว่าเป้าหมาย ราชสถิตย์ร้อยละ 88 หลักฟ้า /บ้านเบิก ร้อยละ 0 -ขาดเครื่องมือตรวจตา -ผลงานต่ำกว่าเป้าหมาย (ไตรมาสแรก ร้อยละ 45) -Project manager ขาดการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ควบคุมกำกับติดตาม 1NCD คลินิกของโรงพยาบาลและสสอ. ร่วมกันกำหนดแนวทางคัดกรองและการลงข้อมูลที่ครบถ้วน 2 NCD manager ของ รพ ติดตามกำกับ

10 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา
โครงการควบคุมโรค 1.ผลการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง 2. จำนวนผู้ป่วย TB ขึ้นทะเบียนในเขต 4 ราย 1 ยังไม่ได้คัดกรองในกลุ่มผู้สัมผัส /DM / สูงอายุ (ปัญหางบประมาณ) 2 ผู้ป่วยขึ้นทะเบียนรักษา รพ.อ่างทอง การส่งข้อมูลให้อำเภอไชโยดูแลผู้ป่วยในพื้นที่ล่าช้าผู้ป่วยบางรายยังไม่ได้รับการเยี่ยมติดตามดูการกินยา -Case manager TB ต้องจัดประชุมแนวทางการดำเนิน รพ. TB ในเครือข่าย เรื่อง 1 แผนการคัดกรอง 2 การเชื่องโยงระบบการดูแลผู้ป่วยในเครือข่ายอำเภอการติดตามการกินยา โดยระบบพี่เลี้ยง เป้า ผลงาน ร้อยละ 1 ผู้สัมผัส TB 18 2 HIV 55 100 3 DM รายใหม่ DM คุมน้ำตาลไม่ได้ 28 26 4 แรงงานต่างดาว 2+ 5 สูงอาย 65 ปีขึ้นไป COPD 68 6 บุคลการการแพทย์ 145

11 สรุปผลการนิเทศงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2561 คปสอ.ไชโย กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา เด็กปฐมวัย (0-5) ปี เด็กวัยเรียน (6-14ปี ) สูงดีสมส่วน 1 มีแผนงานโครงการแก้ปัญหา 2 มีผู้รับผิดชอบโครงการ Project Manager - จะจัดอบรมครูศูนย์เด็กเล็กและ รร.ประถมเดือน ก.พ. 61 ยังอยู่ระหว่างการสำรวจโรงเรียนที่มีเด็กอ้วนเกิน 10% เพื่อจัดการน้ำหนักและแก้ปัญหาเด็กเตี้ย ผอม ส่งเสริมความสูง เร่งรัดจัดทำข้อมูลเด็กอ้วนเตี้ยให้แล้วเสร็จแล้วจัดกิจกรรมแก้ปัญหารายบุคคล 2. พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช มีการฆ่าตัวตายสำเร็จ 2 ราย ( 9.52 ต่อแสนประชากร) เป้าหมาย ต่อแสนประชากร คัดกรองภาระสุขภาพจิตเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยง

12 สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับจังหวัด รองที่ 1 ปีงบประมาณ 2561
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) HA มีการวางแผนในการขอรับรอง ขั้น 3ภายใน มี.ค. 61 ทีมนำ มีภาระงานมาก ทำให้การทำงานเอกสารคุณภาพ ไม่เป็นไปตามแผนก เสนอให้จัดทีมผู้ช่วยทีมนำ มาช่วยทำงานคุณภาพ โดยดูจากแผนกที่ work load น้อยๆ ให้คัดมาช่วยงานคุณภาพ โดยทีมมาช่วยทำเอกสารตอนบ่ายของทุกวัน หรือตามความเหมาะสมให้ทันตาม Time line ระบุชื่อผู้รับผิดชอบในแต่ละระบบงานให้ชัดเจน ส่งอบรมมาตรฐาน HA ฉบับใหม่ ซึ่ง สรพ.เปิดรับสมัครตั้งแต่ 3 – 23 ม.ค. 61 รับเพียง 400 คน อบรม เสาร์ที่ 10 ก.พ. 61 ค่าลงทะเบียน 1,800 บาท ที่ โรงแรมริชมอนด์

13 สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับจังหวัด รองที่ 1 ปีงบประมาณ 2561
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) Home Ward จากการนำเสนอ มีการวางแผนการดำเนินงานที่ดี มีรูปแบบ Home Ward ที่มีศูนย์การดูแลต่อเนื่องโดย โรงพยาบาล ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลาง มีการจัดระดับความรุนแรงของโรค และกำหนดความถี่ในการเยี่ยมบ้านที่ชัดเจน จากการสุ่มเยี่ยม ผู้ป่วย พบว่า ยังไม่มี Chart ประจำตัวผู้ป่วยที่บ้าน ไม่มีข้อมูลผู้ป่วย ไม่มีการบันทึกการเยี่ยมบ้านแผนการเยี่ยม การดูแลยังไม่ชัดเจน ทีมเยี่ยมบ้าน หรือกลุ่มงานเวชประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานหรือนโยบายแก่ทุกคนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน สื่อสารให้เข้าใจตรงกัน ทำงานให้สอดคล้องกันตามแนวทางที่วางแผนไว้ จัดทำทะเบียนอุปกรณ์ผู้ป่วย Home ward ในภาพ CUP (สสอ.มีแล้ว)

14 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการพัฒนาคณะกรรมการคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ) จัดทำแผน พชอ เพิ่มเติมจากการได้รับงบสนับสนุนจาก สธ รออนุมัติ ส่งทีมเลขาเข้าอบรมในวันที่ 8-9 มค 61 ซึ่งเขต 4 เป็นผู้จัด อยู่ระหว่างดำเนินการ ดำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการ พชอ. ตามมระเบียบสำนักนายก กำหนดวันประชุม คณะกรรมการพชอ. ในการวิเคราะห์ปัญหา ประเด็นการพัฒนา เพื่อคัดเลือกประเด็น 2 เรื่อง โครงการ รพ.สต. ติดดาว แต่งตั้งคณะกรรมการฯระดับอำเภอ กำหนดพื้นที่เป้าหมาย จระเข้ร้อง ราชสถิตย์ ให้ รพ.สต ทุกแห่งศึกษาเกณฑ์จากคู่มือก่อนและทางอำเภอจะจัดประชุมชี้แจงเกณฑ์ อยุ่ระหว่างดำเนินการ กำหนดประชุมถ่ายทอดเกณฑ์การพัฒนา รพ.สต. ติดดาว เนื่องจากมีเกณฑ์และคะแนนที่ปรับใหม่ในปี 61

15 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการพัฒนาระบบแพทย์ปฐมภูมิ ดำเนินการปรับ mapping ใหม่โดยตัดบางระกำไปอยู่กับอำเภอโพธิ์ทองและจัดเป็น 2 ทีม ขาดแพทย์ FM เตรียมผลิตแพทย์ FM รองรับการเปิดทีมแรก รพ.สต. จระเข้ร้องปี 64

16 สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับจังหวัด รองที่ 1 ปีงบประมาณ 2561
กลุ่มงานทันตสาธารณสุข แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) โครงการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ ช่องปากใน รพ.สต. จัดบริการทันต กรรม (ขูด อุด ถอน) เดือนละ 1 ครั้ง ผู้ช่วยทันตกรรมไม่เพียงพอ พัฒนาขีดความสามารถ อสม. ในงานผู้ช่วยทันตกรรม เพิ่มความครอบคลุม ในการให้บริการ ทันตกรรมใน รพ. สต. เป็น 6 แห่ง - ยูนิตทันตกรรมเก่า ชำรุด 1 เครื่อง ขยายการบริการงาน ส่งเสริมป้องกัน ครบ 9 แห่ง ครอบคลุมงานส่งเสริมป้องกัน

17 สรุปผลการนิเทศงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2561 คปสอ.ไชโย กลุ่มงานคุ้มครอง ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 1.การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค 1.มีแผน และผลการดำเนินงานการตรวจสอบคุณภาพและฉลากของผลิตภัณฑ์สุขภาพในไตรมาสที่ 1 2.มีแผนการออกตรวจประเมินสถานที่ผลิตตามเกณฑ์ GMP/Primary GMP 3.การดำเนินการจัดซื้อชุดทดสอบตรวจสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับอนุมัติให้ดำเนินการจัดซื้อแล้ว พบสถานที่ผลิตที่ไม่ได้รับอนุญาตอ้างว่าอยู่ในขั้นตอนการขออนุญาตกับจังหวัด 1.ตรวจสอบฐานข้อมูลการอนุญาตจาก Excel Online 2.ประสานตรวจสอบข้อมูลกับผู้รับผิดชอบสสจ.

18 ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 2.การดำเนินงานเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล(RDU) ผ่าน RDU 1 (ระดับรพ.)ขั้นที่ 1 ส่วนของ รพ. ตชว.ที่ยังไม่ผ่าน คือ 1.URI เกณฑ์≤20% ผลงาน 30.7% 2.แผลสด เกณฑ์≤40% ผลงาน 64.75% 3.ญ.คลอด เกณฑ์≤10% ผลงาน 22.22% 1.จัดการอบรม จนท.เรื่องการใช้ยาปฏิชีวนะ 2.จัดทำguidline และ check list การสั่งใช้ยาใน 3 ตชว.เสนอที่ประชุม PTC รพ.ภายใน ม.ค.61 ไม่ผ่าน RDU 2 (ระดับอำเภอ)ขั้นที่ 2 เกณฑ์ 60% ผลงาน44.44% 1.ข้อมูลใน HDC การลงข้อมูล วินิจฉัย ไม่พบคนไข้ทั้ง 2 โรค โปรแกรมจะแปลผลว่าไม่ผ่าน รพ.สต.ทบทวนผลการวินิจฉัย

19 สรุปนิเทศงานระดับจังหวัด
รอบ 1 ปี 2561 คปสอ.ไชโย

20 ประเด็นตรวจ GREEN & CLEAN Hospital
2. เกณฑ์ประเมินส้วม HAS และ ส้วมสะอาด  3. เกณฑ์ประเมินมาตรการ ประหยัดพลังงาน 

21 แผนการดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital
1. กำหนดนโยบาย ปี 2561 จากระดับพื้นฐาน เป็นระดับดี ในเดือน มีนาคม 2561  2. ปรับปรุงระบบน้ำเสีย 3. นำน้ำประปาส่งตรวจ 4. ปรับปรุงส้วมหอผู้ป่วยใน 5. ตรวจโรงอาหาร ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร 6. จัดอบรมเรื่องขยะและมูลฝอยติดเชื้อ เดือน เมษายน 7. ได้รับเงินบริจาคทำเครื่องกรองน้ำ 8. ริเริ่มจัดทำนวตกรรม

22 ผลการดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital
ระดับพื้นฐาน  2. ผลการตรวจน้ำประปาผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โรงอาหารผ่านเกณฑ์อยู่ในระดับดี มีนวตกรรมเดิม 1 อย่าง กิจกรรมเด่นเรื่องประหยัดกระดาษ 1 อย่าง

23 ปัญหาอุปสรรค GREEN & CLEAN Hospital
1. น้ำเสียยังไม่ผ่านเกณฑ์ แนวทางแก้ไข 1. ปรึกษาศูนย์ห้องปฏิบัติการ กรมอนามัย 2. กำจัดตะกอนในบ่อบำบัด โดยใช้รถดับเพลิงฉีดน้ำ 3. ซ่อมเครื่องปั๊มคลอรีน

24 แผนการดำเนินงานส้วมมาตรฐาน
1. ปรับปรุงส้วม รพ.สต.ให้ผ่านเกณฑ์ส้วมสะอาดทุกแห่ง 2. ระหว่างดำเนินการก่อสร้างส้วมผู้สูงอายุผู้พิการ ผลการดำเนินงาน ส้วม รพ.สต. มีพัดลมและพัดลมดูดอากาศ จำนวน 1 แห่ง ส้วม รพ.สต. มีจำนวน 2 ห้องทุกแห่ง สามารถแยกส้วมชาย หญิงได้ ปัญหาอุปสรรค 1. รพ.สต. มีพัดลมและพัดลมดูดอากาศยังไม่ครบทุกแห่ง 2. ยังไม่มีผู้ประมูลเพื่อก่อสร้างส้วมผู้สูงอายุผู้พิการ

25 แผนการดำเนินงานประหยัดพลังงาน
1. คณะกรรมการตรวจติดตามมาตรการประหยัดพลังงาน ทุกหน่วยงาน 2. วางแผนเปลี่ยนอุปกรณ์ไฟฟ้าตามนโยบายกระทรวง พลังงาน 3. มีมาตรการประหยัดน้ำมันและกระดาษ 4. ติดตามประเมินผล

26 ค่าไฟฟ้าลดลง จาก 1.9 แสนบาท เป็น 1.4 แสนบาท การใช้กระดาษลดลง
ผลการดำเนินงาน ค่าไฟฟ้าลดลง จาก 1.9 แสนบาท เป็น 1.4 แสนบาท การใช้กระดาษลดลง ปัญหาอุปสรรค ไม่มี

27 สรุปผลการนิเทศงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2561 คปสอ.โพธิ์ทอง กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา การดำเนินการงานถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับบุคคลของหน่วยงาน 1 กระบวนการในการในการถ่ายทอดตัวชี้วัด - มีการนำตัวชี้วัดของผู้บริหารมา Cascade ส่งหัวหน้า กลุ่มงาน ผอ.รพ.สต. และถ่ายทอดลงสู่ผู้รับผิดชอบ 2 สุ่มตรวจ KPI Template ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโรงไม่ติดต่อเรื้อรัง ( NCD) -ยังขาดการแตกกิจกรรมตัวชี้วัดผู้บริหารลงสู่ผู้รับผิดชอบ - KPI Template ของผู้บริหารที่ต้องดำเนินการในแต่ละกิจกรรมมอบหมายให้กับผู้รับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ ทุกคนและรวมกลุ่มกันกำหนดตัวชี้วัด

28 คณะ 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
(แผนยุทธศาสตร์บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาลGovernance Excellence) โครงการที่ 13 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ ตัวชี้วัด ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบปัญหาวิกฤตทางการเงิน สรุปนิเทศโรงพยาบาลไชโย วันที่ 5 มกราคม 2561

29 ประเด็นการตรวจ 1.การบริหารแผนทางการเงินและการกำกับติดตาม 1.1การจัดทำแผนทางการเงินการทำแผนทางการเงิน ครบถ้วน 7 แผน ผ่านการอนุมัติจากนพ.สสจ. และผู้ตรวจราชการตามกำหนดเวลา 1.1.1การทำแผน planfinรายได้(ไม่รวมงบลงทุน) จำนวน58,122, บาท ค่าใช้จ่าย(ไม่รวมค่าเสื่อม) จำนวน 57,229,890 บาท ทำแผนแบบเกินดุล EBITDA = 892,336.03 วงเงินที่ลงทุนได้ (ร้อยละ 20%ของ EBITDA = 178, บาท ทำแผนลงทุนด้วยเงินบำรุง 930,000 บาท งบลงทุนด้วยเงินบำรุงเปรียบเทียบEBITDA>20% = -751, บาท NI = 5,966 บาท มีงบลงทุน = 1,919,000 บาท (งบค่าเสื่อม(70%) = 989,000บาท (เงินบำรุง 930,000 บาท) 1.1.2.แผนจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา จำนวน 6,427,550.70บาท 1.1.3.แผนจัดซื้อวัสดุอื่น จำนวน 1,505,000 บาท 1.1.4.แผนบริหารจัดการเจ้าหนี้ จำนวน 6,450,864 บาท 1.1.5.แผนบริหารจัดการลูกหนี้ จำนวน 19,541,011.22บาท 1.1.6.แผนงบลงทุน จำนวน 1,919,000 บาท 7.แผนสนับสนุนรพสต.จำนวน 3,548, บาท

30 1.ทำแผนรายได้(ไม่รวมงบลงทุน)ในภาพรวมลดลง 313,250.18 บาท
ปัญหาที่พบ 1.ทำแผนรายได้(ไม่รวมงบลงทุน)ในภาพรวมลดลง 313, บาท (รายได้ uc ,ต้นสังกัด,ประกันสังคมทำแผนจากข้อมูลที่ได้รับจัดสรรจริงเนื่องจากมีส่วนต่างจากการ เรียกเก็บสูง 2.ค่าใช้จ่าย(ไม่รวมค่าเสื่อมราคา)เพิ่มขึ้นจำนวน 645, บาท เนื่องจากทำแผนเวฃภัณฑ์มิใช่ยา,วัสดุการแพทย์เพิ่มขึ้น (9.32%) วัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เพิ่ม 20.64% 3.ลงทุนด้วยเงินบำรุงเกิน Ebitda -751, บาท 4.งบค่าเสื่อม ทำแผนในแผนงบลงทุนเพียง 70% วงเงิน 989,000 บาท ไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริง รพ.ต้องทำแผนตามที่ได้รับจัดสรรงบค่าเสื่อม(สำหรับรพ.) จำนวน 70% =589, บาท รพ.สต.400,000 บาท จำนวน 20% = 190,000 บาท จำนวน 10% = 460,000 บาท

31 แนวทางการแก้ไขปัญหา มาตรการดำเนินงานของโรงพยาบาลใน ปี 2561
1.การจัดทำแผนด้านรายได้(5 กิจกรรม)ให้มีการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานที่ผ่านมากับเป้าหมายในการดำเนินงานในปี 2561 2.การจัดทำแผนด้านค่าใช้จ่ายให้มีการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานที่ผ่านมาโดยมีเป้าหมายในการควบคุมค่าใช้จ่ายในปี ให้เหมาะสมกับผลงาน 3.การจัดทำแผนงบค่าเสื่อม กรณีจัดสรรให้รพ.สต.ดำเนินการ ควรทำแผนสนับสนุนรพ.สต.ในส่วนของ รพ.สต. มาตรการดำเนินงานของโรงพยาบาลใน ปี 2561 1.การเพิ่มรายได้โรงพยาบาลมีเป้าหมายและผู้รับผิดชอบชัดเจน(ทุกกลุ่มงาน) 2.การจัดทำแผนบริหารเจ้าหนี้ มีการกำหนดมาตรการในการชำระหนี้การค้า(กลุ่มงานบริหาร) 3.การจัดทำแผนบริหารลูกหนี้ มีการกำหนดมาตรการในการเรียกเก็บหนี้ค่ารักษาพยาบาลในแต่ละสิทธิที่มีการเรียกเก็บ มีการกำหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละสิทธิอย่างชัดเจน มีทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลตามนโยบายกระทรวง (มอบกลุ่มงานประกัน) 4.การจัดทำแผนงบลงทุน มีการจัดหางบลงทุนเป็นไปตามแผนโดยมีผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน(กลุ่มงานบริหาร) 5.การจัดทำแผนสนับสนุนรพ.สต.มีการกำหนดการจัดสรรเงินและการสนับสนุนยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยาอย่างชัดเจน และกำกับติดตามให้เป็นไปตามแผน(คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลและ คปสอ.)

32 ประเด็นการตรวจ ปัญหาที่พบ 1.2 การกำกับติดตาม planfin
(ผลการดำเนินงานเดือนพ.ย.60) ด้านรายได้ มากกว่า 5,717, บาท (ร้อยละ 55.84) ด้านรายจ่าย มากกว่าแผน 119, บาท (ร้อยละ 1.17%) ปัญหาที่พบ ด้านรายได้ 1.มากกว่าแผนเกินร้อยละ 5 -รายได้ uc เป็นการจัดสรรล่วงหน้า 6 เดือน ทำให้มากกว่าแผน 5,490, (ร้อยละ ) -รายได้งบลงทุน 438, (79.44%) -รายได้ประกันสังคม 258, (167.70%)เนื่องจากทำแผนลดลงจากปีที่ผ่านมา 2.น้อยกว่าแผนเกินร้อยละ 5 มีดังนี้ รายได้ EMS จำนวน 17,773 (-53.2%)เป็นรายได้ที่เกิดขึ้นจากการให้บริการฉุกเฉิน รายได้อปท จำนวน 22,575 (-30.25%)เนื่องจากคนไข้ไปใช้บริการลดลง -รายได้อื่น จำนวน 195,759 (-40.65%)

33 ด้านรายจ่าย มากกว่าแผน 119,645.27 บาท (ร้อยละ 1.17%)
ปัญหาที่พบ 1.มากกว่าแผน -วัสดุทันตกรรมใช้ไป จำนวน (86.14%)เนื่องจากมีการดำเนินการในไตรมาส1 -ค่าใช้สอย 115,395 (23.24%)เนื่องจากค่าเอกซเรย์มีใบแจ้งหนี้เรียกเก็บตั้งแต่เดือนเม.ย.60ถึงส.ค.60 -ค่าสาธารณูปโภค (24.13%)เนื่องจากทำแผนลดลงเพราะจะได้รับสนับสนุนโครงการสนับสนุนการ ลงทุนปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ของรัฐจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเพื่อจัดหาเครื่องปรับอากาศและหลอดLEDจำนวน1,070 หลอด ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างรอลงนามสัญญา -ค่าใช้จ่ายอื่น 674,038 (87.11%)เนื่องจากได้รับใบแจ้งหนี้ค่ารักษาตามจ่ายของ รพ.อ่างทอง 2.น้อยกว่าแผน -ยาใช้ไป 158, (-24.44%) -เวชภัณฑ์มิใช่ยา,วัสดุการแพทย์ใช่ไป 75, (-52.69%) -วัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ใช้ไป 45, (-31.01%) -วัสดุใช้ไป 39, (-15.87%) แนวทางการแก้ไข - รายได้ให้มีการกำกับติดตามผลการดำเนินงานที่ไม่เป็นไปตามแผนโดยการวิเคราะห์หาสาเหตุในแต่ละรายการที่ไม่เป็นไปตามแผนอย่างละเอียดเชิงลึก - การควบคุมค่าใช้จ่ายควรมีระบบเฝ้าระวังและติดตามกำกับในแต่ละรายการให้เป็นไปตามแผน

34 ประเด็นการตรวจ 2.ประเมินประสิทธิภาพการเงิน 7 ตัว (เกณฑ์ผ่าน 4 ตัว)
ผลการดำเนินงานไตรมาส 4/60 ผ่าน ตัว ไม่ผ่าน ตัว (ระยะเวลาชำระหนี้) ผล = วัน (cash =0.53)เกณฑ์ชำระไม่เกิน 180 วัน แนวทางการแก้ไข -จัดทำแผนบริหารเจ้าหนี้และกำหนดมาตรการในการจ่ายชำระหนี้(โรงพยาบาลมีแผนชำระหนี้ ปี 2559 ในปี 2561) -มีแผนการจัดซื้อและดำเนินการตามแผน -มีการจัดทำรายงานเจ้าหนี้เป็นปัจจุบันตามนโยบาย -มีมาตรการเรื่องการบริหารสินค้าคงคลัง เช่น อัตราสินค้าคงคลังขั้นต่ำ /ขั้นสูง เพื่อให้ส่งผลกับการจัดซื้อและการบริหารเจ้าหนี้

35 ประเด็นการตรวจ 3.คะแนนการประเมิน FAI ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ประกอบด้วย 4 กิจกรรม กิจกรรมการควบคุมภายใน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพบัญชี กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง การบริหารต้นทุน ผลการดำเนินงานไตรมาส 4 /60 คะแนนการประเมิน FAI ได้ร้อยละ 92 ปัญหาที่พบ -กิจกรรมควบคุมภายในได้ 3 คะแนน โดยการดำเนินงานเรื่องการควบคุมภายในไม่ส่งรายงานการประเมินแบบ 5 มิติภายในกำหนดเวลา แนวทางแก้ไข/มาตรการดำเนินงานในปี 2561 - ทบทวนคณะทำงานแต่ละกิจกรรมให้มีดำเนินงานตามเกณฑ์ที่กำหนดในแต่ละกิจกรรม คณะทำงานมีการประเมินและรายงานผลการประเมินอย่างน้อยรายไตรมาส

36 สรุปผลการนิเทศงานระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2561 คปสอ.โพธิ์ทอง กลุ่มงานประกันสุขภาพ ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา ประสิทธิภาพการเพิ่มรายได้ 5 กิจกรรม -มีการกำหนดเป้าหมายและมาตรการเพิ่มรายได้ 5 กิจกรรม 1. Fitness เพิ่มขึ้นจากปี 60 = 411,526บาท 2. กายภาพ เพิ่มขึ้นจากปี 60 = 120,000 บาท 3. แพทย์แผนไทย เพิ่มขึ้นจากปี =469,463 บาท 4 ทันตกรรมเพิ่มขึ้นจากปี 60 = 39,400 บาท 5.ห้องพิเศษเพิ่มขึ้นจากปี 60 = 1,472,610 บาท -ภาพรวมเป้าหมายเพิ่มรายได้ คือ 2,512,999 บาท/ ปี อุปกรณ์ในการให้บริการกายภาพบำบัดยังไม่เพียงพอ อยู่ระหว่างการจัดหาอุปกรณ์เพิ่มจากเงินบริจาค

37 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google