ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
โดย นางสาวพูลสุข ปริวัตรวรวุฒิ กรรมการบริหารสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ
2
หัวข้อบรรยาย (น. 45-99) - กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
- การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน - วิธีสร้างความสนใจในการอ่าน
3
กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน คือ การกระทำต่าง ๆ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความสนใจในการอ่าน เห็น ความสำคัญและความจำเป็นของการอ่าน เกิดความ เพลิดเพลินในการอ่าน พยายามพัฒนาการอ่านของตน ให้ถึงระดับการอ่านเป็น และอ่านจนเป็นนิสัย ลักษณะสำคัญของกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 1. เร้าใจ ให้บุคคลที่เป็นเป้าหมายเกิดความอยากอ่าน หนังสือ 2. จูงใจ ให้บุคคลเกิดความพยายามที่จะอ่านให้ แตกฉาน 3. กระตุ้น โดยแนะนำให้อยากรู้อยากเห็นเรื่องราวต่าง ๆ ที่มีอยู่ในหนังสือ 4. สร้างบรรยากาศการอ่าน ในบ้าน รร. และสังคม 5. สร้างและพัฒนาแหล่งวัสดุการอ่านให้เพียงพอ มี การบูรณาการอ่านในการเรียนการสอน และการ ตัดสินใจเพื่อดำเนินการต่าง ๆ
4
กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน (ต่อ)
ทำไมต้องมีกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 1. การอ่านมิใช่ทักษะที่เกิดเองตามธรรมชาติ 2. การอ่านเป็นพฤติกรรมการสื่อสารและรับ สารอย่างหนึ่ง 3. ความอยากรู้เรื่องราวต่าง ๆ ให้มากและ หลากหลายขึ้น เป้าหมายของการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 1. เป้าหมายบุคคล 2. เป้าหมายของการอ่าน 3. การกำหนดเป้าหมายของการอ่าน 4. บันไดแห่งการอ่าน มี 3 ขั้น คือ อ่าน ออก อ่านได้ และอ่านเป็น
5
กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน (ต่อ)
การเตรียมตัวเพื่อจัดกิจกรรม 1. อ่านหนังสือและวัสดุการอ่านอื่น ๆ อยู่ เนืองนิตย์ 2. รู้จักบุคคลที่เป็นเป้าหมาย 3. รู้วิธีดำเนินการ การติดตามผลและวัดผล กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่าน มีหลายแบบ ดังนี้ 1. กิจกรรมซึ่งเร้าโสตประสาท ชวนให้ฟัง 2. กิจกรรมซึ่งเร้าจักษุประสาท 3. กิจกรรมซึ่งเร้าโสตและจักษุประสาทใน ขณะเดียวกัน 4. กิจกรรมซึ่งให้ผู้เป็นเป้าหมายได้ร่วมด้วย
6
การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 1. เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้แก่กลุ่มเป้าหมาย 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายรู้จักแสวงหาความรู้และความ เพลิดเพลินจากการอ่านในยามว่าง 3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายรู้จักศึกษาค้นคว้าได้ตามความต้องการ และตามความสนใจ บทบาทของผู้ปกครองต่อการส่งเสริมการอ่าน 1. พ่อแม่ต้องมีนิสัยรักการอ่าน 2. จัดมุมสบายมีหนังสืออ่านหลากหลาย 3. จัดหาหนังสือให้ลูกอ่านตามความสนใจ 4. พาลูกไปห้องสมุดหรือร้านหนังสือ 5. ให้ของขวัญเป็นหนังสือ
7
การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน (ต่อ)
สรุปบทบรรยายของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเกี่ยวกับการอ่านหนังสือ (ใน จินตนา ใบกาซูยี. (2542). เทคนิคการเขียนหนังสือ สำหรับเด็ก (น. 23). กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.) 1. การอ่านหนังสือทำให้ได้เนื้อหาสาระความรู้ มากกว่าการศึกษาหาความรู้ด้วยวิธีอื่น ๆ 2. ผู้อ่านสามารถอ่านหนังสือได้โดยไม่มีการจำกัด เวลาและสถานที่ สามารถนำไปไหนมาไหนได้ 3. หนังสือเก็บได้นานกว่าสื่ออย่างอื่น ซึ่งมักมีอายุ การใช้งานจำกัด 4. ผู้อ่านสามารถฝึกการคิดและสร้างจินตนาการได้ เองในขณะอ่าน 5. การอ่านส่งเสริมให้มีสมองดี มีสมาธินานกว่า และมากกว่าสื่ออย่างอื่น 6. ผู้อ่านเป็นผู้กำหนดการอ่านได้ด้วยตนเอง 7. หนังสือมีหลากหลายรูปแบบและราคาถูกกว่าสื่อ อย่างอื่น 8. ผู้อ่านเกิดความคิดเห็นได้ด้วยตนเอง วินิจฉัย เนื้อหาสาระได้ด้วยตนเอง
8
วิธีสร้างความสนใจในการอ่าน
วิธีการสร้างความสนใจในการอ่านให้เกิดขึ้น 1. เรียนและฝึกฝนจนอ่านได้คล่องแคล่ว ต้องอ่านให้มาก และอ่าน เรื่องราวต่าง ๆ อย่างหลากหลาย 2. ประสบการณ์ในชีวิต 3. อย่างปล่อยจิตใจให้ซึมเซา ท้อแท้ เบื่อหน่าย 4. สร้างนิสัยอยากรู้อยากเห็น 5. หัดอ่านให้เร็วและอ่านให้แตกฉาน 6. หาทางใช้ความรู้ที่ได้จากการอ่านและไตร่ตรองแล้ว
9
วิธีสร้างความสนใจในการอ่าน (ต่อ)
การสร้างความสนใจให้แก่เด็กในบ้าน 1. สำหรับผู้ที่จะเป็นบิดามารดา 2. เมื่อลูกยังเป็นทารก 3. หัดให้ลูกรู้จักหนังสือ8น 5. เมื่อลูกย่างเข้าวัยรุ่น 6. หาเวลาสนทนาเรื่องหนังสือที่เขาอ่าน หรือหนังสือที่น่าอ่าน 7. สร้างทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการซื้อ หนังสือ 8. ส่งเสริมให้เด็กสนใจในสิ่งต่าง ๆ
10
วิธีสร้างความสนใจในการอ่าน (ต่อ)
การสร้างความสนใจให้แก่เด็กในบ้าน 1. สำหรับผู้ที่จะเป็นบิดามารดา 2. เมื่อลูกยังเป็นทารก 3. หัดให้ลูกรู้จักหนังสือ8น 5. เมื่อลูกย่างเข้าวัยรุ่น 6. หาเวลาสนทนาเรื่องหนังสือที่เขาอ่าน หรือหนังสือที่น่าอ่าน 7. สร้างทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการซื้อ หนังสือ 8. ส่งเสริมให้เด็กสนใจในสิ่งต่าง ๆ
11
วิธีสร้างความสนใจในการอ่าน (ต่อ)
การสร้างความสนใจให้แก่นักเรียน 1. ผู้บริหารสนับสนุนการจัดห้องสมุดโรงเรียน และมุม หนังสือในห้องสมุดหรือห้องเรียน 2. ผู้บริหารจัดให้มีครู อาจารย์ บรรณารักษ์ ทำงานใน ห้องสมุดเต็มเวลาอย่างน้อย 1 คน 3. ครูบรรณารักษ์ ควรแบ่งเวลาสำหรับจัดกิจกรรมส่งเสริม การอ่าน และแนะนำนักเรียนให้รู้จักการอ่าน 4. การจัดกิจกรรมที่ไม่เสียเวลาและค่าใช้จ่ายไม่สูง 5. การจัดกิจกรรมที่นักเรียนมีส่วนร่วมด้วย 6. การสร้างบรรยากาศห้องสมุดมีชีวิต 7. ครูบรรณารักษ์ ควรเข้าใจเด็ก มีอัธยาศัยดี ยิ้มแย้ม แจ่มใส รักการอ่าน หาเวลาอ่านหนังสือให้มากและ หลากหลาย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.