งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชุมการจัดสอบ O-NET2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชุมการจัดสอบ O-NET2560"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประชุมการจัดสอบ O-NET2560
ณ ห้องประชุมสักทอง2 (ยมหิน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 24 มกราคม 2561 กลุ่มงานวัดและประเมินผล สพป.แพร่ เขต1

2 วัตถุประสงค์การจัดสอบ

3 ศูนย์สอบ สพป.แพร่ เขต1

4 สนามสอบO-NET ป.6 จำนวนนักเรียน 2,429 คน

5 1.สนามสอบ:รร.เทศบาลวัดเหมืองแดง
10 ห้องสอบ: ห้องปกติ

6 2.สนามสอบ:โรงเรียนบ้านถิ่น
3 ห้องสอบ: ห้องปกติ ยุบห้องสอบเด็กพิเศษ (เด็กพิเศษ 1 คน)

7 3.สนามสอบ:รร.มารดาอุปถัมภ์
16 ห้องสอบ: ห้องปกติ ยุบห้องสอบเด็กพิเศษ (เด็กพิเศษ 5 คน) ห้องสอบที่16 จะมี นร.29+5=34

8 4.สนามสอบ:รร.วัดเมธังกราวาส
12 ห้องสอบ: ห้องปกติ ยุบห้องสอบเด็กพิเศษ (เด็กพิเศษ 1 คน) ห้องสอบที่12 จะมี นร.18+1=19

9 5.สนามสอบ:โรงเรียนอนุบาลแพร่
12 ห้องสอบ: ห้องปกติ ยุบห้องสอบเด็กพิเศษ (เด็กพิเศษ 4 คน) ห้องสอบที่12 จะมี นร. 9+4=13

10 6.สนามสอบ:รร.บ้านร้องกวาง
5 ห้องสอบ: ห้องปกติ (เด็กพิเศษ - คน) ห้องสอบที่ 5 จะมี นร. 19

11 7.สนามสอบ:รร.บ้านห้วยโรงนอก
3 ห้องสอบ: ห้องปกติ ยุบ1ห้องเด็กพิเศษ(เด็กพิเศษ 2 คน) ห้องสอบที่ 3 จะมี นร. 29+2=31

12 8.สนามสอบ:รร.ราชประชานุเคราะห์25
8 ห้องสอบ: ห้องปกติ ยุบ1ห้องเด็กพิเศษ(เด็กพิเศษ 1 คน) ห้องสอบที่ 8 จะมี นร. 13+1=14

13 9.สนามสอบ:รร.ไทยรัฐวิทยา31
4 ห้องสอบ: ห้องปกติ (เด็กพิเศษ - คน) ห้องสอบที่ 4 จะมี นร. 21

14 10.สนามสอบ:รร.บ้านดอนชัย
1 ห้องสอบ: ห้องปกติ ยุบ1ห้องเด็กพิเศษ(เด็กพิเศษ 1 คน) ห้องสอบที่ 1 จะมี นร. 30+1

15 11.สนามสอบ:รร.อนุบาลเทพสุนทรินทร์
7 ห้องสอบ: ห้องปกติ

16 12.สนามสอบ:รร.บ้านหนองม่วงไข่
4 ห้องสอบ: ห้องปกติ ยุบ1ห้องเด็กพิเศษ(เด็กพิเศษ 1 คน) ห้องสอบที่ 4 จะมี นร. 10+1

17 สนามสอบO-NET ม.3 จำนวนนักเรียน 907 คน

18 13.สนามสอบ:รร.เซนต์ฟรังซิสเซเวียร์แพร่
6 ห้องสอบ: ห้องปกติ ยุบ1ห้องเด็กพิเศษ(เด็กพิเศษ 4 คน) ห้องสอบที่ 6 จะมี นร. 13+4=17

19 14.สนามสอบ:รร.เทพพิทักษ์วิทยา
5 ห้องสอบ: ห้องปกติ (เด็กพิเศษ - คน) ห้องสอบที่ 5 จะมี นร. 13คน

20 15.สนามสอบ:รร.สาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน
6 ห้องสอบ: ห้องปกติ (เด็กพิเศษ - คน) ห้องสอบที่ 6 จะมี นร. 22คน

21 16.สนามสอบ:รร.บ้านห้วยโรงนอก
3 ห้องสอบ: ห้องปกติ ยุบ1ห้องเด็กพิเศษ(เด็กพิเศษ 1 คน) ห้องสอบที่ 3 จะมี นร. 14+1=15

22 17.สนามสอบ:รร.ราชประชานุเคราะห์25
6 ห้องสอบ: ห้องปกติ ยุบ1ห้องเด็กพิเศษ(เด็กพิเศษ 1 คน) ห้องสอบที่ 6 จะมี นร. 26+1=27

23 18.สนามสอบ:รร.บ้านป่าแดง(รัฐฯ)
2 ห้องสอบ: ห้องปกติ ยุบ1ห้องเด็กพิเศษ(เด็กพิเศษ 1 คน) ห้องสอบที่ 2 จะมี นร. 24+1=25

24 19.สนามสอบ:รร.พัฒนาประชาอุปถัมภ์
5 ห้องสอบ: ห้องปกติ (เด็กพิเศษ - คน) ห้องสอบที่ 5 จะมี นร. 12 คน

25 ตารางสอบ O-NET ป.6

26 ภารกิจระดับสนามสอบ(ป.6)
น. กรรมการทุกฝ่ายถึงสนามสอบ น. กรรมการประชุมทบทวนความพร้อม

27 ตารางสอบ O-NET ม.3

28 ภารกิจระดับสนามสอบ(ม.3)
น. กรรมการทุกฝ่ายถึงสนามสอบ น. กรรมการประชุมทบทวน ความพร้อม

29 หัวหน้าสนามสอบ (คู่มือสีฟ้า หน้า7-8)
1.เตรียมความพร้อมในการจัดสอบในส่วนของสถานที่สอบ กำกับการจัดห้องสอบ ติดรายชื่อและติดสติ๊กเกอร์ เอกสารการสอบอื่นๆที่บอร์ดประชาสัมพันธ์ 2.ผู้ทำหน้าที่เปิดกล่องแบบทดสอบ(ไม่เกิน1ชม.ก่อนสอบ)ร่วมกับกรรมการสังเกตการสอบของศูนย์สอบและสทศ.

30 หัวหน้าสนามสอบ (คู่มือสีฟ้า หน้า7-8)
3.ขออนุมัติจากศูนย์สอบ ในกรณีมีผู้เข้าสอบกรณีพิเศษที่ไม่มีเลขที่นั่งสอบ(walk in) เมื่ออนุมัติจากศูนย์สอบแล้วให้นักเรียนลงชื่อเข้าสอบในใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ(สทศ.3) : ศูนย์สอบแพร่1 อนุมัติให้หัวหน้าสนามสอบทำหน้าที่ 4.กำกับติดตามและตรวจสอบการจัดสอบภายในสนามสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ สทศ.กำหนด

31 หัวหน้าสนามสอบ (คู่มือสีฟ้า หน้า7-8)
5.สั่งพักการปฏิบัติหน้าที่กรณีกรรมการหรือเจ้าหน้าที่ในสนามสอบบกพร่องต่อหน้าที่และรายงานศูนย์สอบทราบ 6.รายงานค่าสถิติการสอบผ่านทางระบบนำส่งสถิติผู้เข้าสอบหลังเสร็จสิ้นการสอบแต่ละวิชา (รายละเอียดคู่มือสีฟ้าหน้า34)

32 หน้าที่ของสนามสอบหลังการสอบแต่ละวิชา
รายงานค่าสถิติจำนวนผู้เข้าสอบหลังเสร็จสิ้นการสอบในแต่ละวิชา ผ่าน / ระบบรายงานสถิติจำนวนผู้เข้าสอบ / ใส่ Username และ Password ของสนามสอบ

33 การคิดค่าสถิติของสถานศึกษา ?
1. คิดเฉพาะผู้เข้าสอบปกติ ไม่นำเด็กพิเศษมาคิด 2. คิดเฉพาะผู้เข้าสอบ ไม่นำผู้ขาดสอบมาคิด 3. คิดเฉพาะของผู้เข้าสอบกรณีพิเศษที่ สทศ.ประกาศเลขที่นั่ง สอบให้ (โรงเรียนแจ้งเพิ่มชื่อระหว่าง 5-15 ม.ค. 61) รานงานค่าสถิติเฉพาะนักเรียนที่มีที่นั่งสอบ

34 หัวหน้าสนามสอบ (คู่มือสีฟ้า หน้า7-8)
7.เก็บรักษาแบบทดสอบและกระดาษคำตอบ และส่งมอบกล่องกระดาษคำตอบ/แบบทดสอบคือตัวแทนศูนย์สอบ(กรรมการรับส่งข้อสอบ-กระดาษคำตอบ) 8.ประสานศูนย์สอบในการสรุปผลรายงานผลการปฏิบัติงานระดับสนามสอบ (O-NET 5) และสรุปค่าใช้จ่าย (O-NET 8) 9.สรุปรวบรวมเอกสารอื่นเช่น สทศ.5 ส่งศูนย์สอบ

35 สทศ.5 (คู่มือสีฟ้า หน้า47)
กรรมการคุมสอบ/หัวหน้าสนามสอบ กรอกข้อมูลให้ครบถ้วน

36 กรรมการกลาง (คู่มือสีฟ้า หน้า9)
1.จัดเตรียมซองแบบทดสอบ/กระดาษคำตอบและ ใบเซ็นชื่อ (สทศ.2)ให้กรรมการคุมสอบ 2.ประสานกรรมการคุมสอบในการรับ-ส่งข้อสอบ/กระดาษคำตอบและใบเซ็นชื่อ (สทศ.2) 3.เสร็จสิ้นการสอบแต่ละวิชา ตรวจนับกระดาษคำตอบและแบบทดสอบให้ครบตามจำนวนที่ระบุ

37 กรรมการกลาง (คู่มือสีฟ้า หน้า9)
4.ประสานกรรมการคุมสอบและผู้เข้าสอบ 5.ประสานการรายงานตัวการสอบประเภทเด็กพิเศษ(กรณีช่วยเหลือตนเองไม่ได้) 6.เดินตรวจความเรียบร้อยของห้องสอบและสนามสอบ 7.ช่วยควบคุมห้องสอบกรณีกรรมการไม่เพียงพอ

38 กรรมการกลาง (คู่มือสีฟ้า หน้า9)
8.ทำหน้าที่บรรจุซองกระดาษคำตอบใส่กล่องบรรจุกระดาษคำตอบเพื่อส่งกลับ สทศ. และเตรียมส่งมอบให้ศูนย์สอบ 9.ปฏิบัติงานอื่นๆตามที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าสนามสอบ

39 วิธีการทำงานของกรรมการกลางประจำสนามสอบ
คู่มือเล่มสีฟ้า หน้า 11-12

40

41

42 วิธีตรวจนับหัวกระดาษคำตอบคู่มือสีฟ้า หน้า 13

43

44 วิธีบรรจุซองกระดาษคำตอบ คู่มือสีฟ้า หน้า 14

45 กรรมการคุมสอบ (คู่มือสีฟ้า/เขียว)
1.กำกับการดำเนินการสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยทั้งภายในห้องสอบและบริเวณใกล้เคียงให้โปร่งใสและยุติธรรม มีประสิทธิภาพและปฏิบัติตามข้อปฏิบัติของ สทศ.อย่างเคร่งครัด 2.ดำเนินการคุมสอบตามคู่มือเล่มสีเขียว 3.ควบคุมไม่ให้ผู้เข้าสอบปฏิบัติผิดระเบียบหรือทำการทุจริตในระหว่างสอบ

46 กรรมการคุมสอบ (คู่มือสีฟ้า หน้า9)
4.รายงานหัวหน้าสนามสอบกรณีผู้เข้าสอบผิดระเบียบการสอบหรือสงสัยว่ามีการทุจริต ห้ามบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าบริเวณห้องสอบ 5.รักษาความลับของแบบทดสอบ ไม่ให้บุคคลอื่นหรือกรรมการคุมสอบดูแบบทดสอบ 6.ตรวจนับกระดาษคำตอบและแบบทดสอบให้ครบถ้วน

47 กรรมการคุมสอบ (คู่มือสีฟ้า หน้า9)
7.ตรวจสอบการกรอกข้อมูลและการระบายที่หัวกระดาษคำตอบให้เรียบร้อยและถูกต้อง 8.รักษากระดาษคำตอบและแบบทดสอบของผู้เข้าสอบไม่ให้สูญหาย และนำส่งกรรมการกลาง/หัวหน้าสนามสอบทันที หลังเสร็จสิ้นการสอบแต่ละวิชา

48 การจัดที่นั่งสอบ การแจก-เก็บแบบทดสอบ/กระดาษคำตอบ ?
หน้าห้อง โต๊ะกรรมการ 1 1 12 13 24 25 2 11 14 23 26 3 10 15 22 27 4 9 16 21 28 5 8 17 20 29 6 7 18 19 30 โต๊ะกรรมการ 2

49 ประเด็นสำคัญปีการศึกษา 2560

50 การสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 วิชาภาษาไทยเป็นอย่างไร?

51 แบบทดสอบ O-NET ชั้น ป. 6 วิชาภาษาไทย
วัตถุประสงค์ ใช้ทดสอบกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อวัดความรู้ความสามารถของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ด้วยรูปแบบข้อสอบอัตนัย 20 % (20 คะแนน) โดย 80% (80 คะแนน) เป็นรูปแบบข้อสอบปรนัยเลือกตอบคำตอบที่ถูกที่สุด

52 กระดาษคำตอบ O-NET ชั้น ป. 6 วิชาภาษาไทย
สำหรับการสอบวิชาภาษาไทยกระดาษคำตอบจะแบ่งเป็น 2 ชุด ได้แก่ กระดาษคำตอบรูปแบบปรนัย กระดาษคำตอบรูปแบบอัตนัย

53 คำแนะนำในการสอบวิชาภาษาไทย ชั้น ป.6

54 คำแนะนำในการสอบวิชาภาษาไทย ชั้น ป.6

55 การสอบวิชาภาษาไทย ชั้น ป. 6 ของผู้เข้าสอบที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น
การสอบวิชาภาษาไทย ชั้น ป. 6 ของผู้เข้าสอบที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น สำหรับผู้เข้าสอบที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น (อักษรเบรลล์) สทศ. จึงจัดอุปกรณ์ให้กับผู้เข้าสอบซึ่งประกอบด้วย สไตลัส (Stylus) มีไว้สำหรับใช้เขียนอักษรเบรลล์ต้องใช้ควบคู่กับสเลท (Slate) และกระดาษคำตอบขนาด A4 ซึ่งเป็นกระดาษคำตอบโดยเฉพาะสำหรับผู้เข้าสอบในกลุ่มดังกล่าว สไตลัส (Stylus) กับสเลท (Slate) กระดาษคำตอบขนาด A4

56 การสอบวิชาภาษาไทย ชั้น ป. 6 ของผู้เข้าสอบที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น
การสอบวิชาภาษาไทย ชั้น ป. 6 ของผู้เข้าสอบที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น สำหรับผู้เข้าสอบที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น (ตาเลือนราง) สทศ. จะจัดเตรียมแบบทดสอบอักษรขยายและกระดาษคำตอบ ขนาด A4 ให้กับผู้เข้าสอบเพื่อใช้ในการเขียนตอบ  © สทศ.จะจัดเตรียมแบบทดสอบอักษรเบรลล์และแบบทดสอบอักษรขยายให้กับผู้เข้าสอบที่โรงเรียนแจ้งข้อมูลผ่านระบบ O-NET และระบุประเภทเด็กพิเศษ (ผู้เข้าสอบที่ระบุข้อมูลเด็กพิเศษ ประเภท บกพร่องทางการมองเห็น ใช้อักษรเบรลล์ และบกพร่องทางการมองเห็น ตาเลือนราง) เท่านั้น

57 แบบทดสอบเป็นอย่างไร ? - แบบทดสอบมีรหัสชุดข้อสอบแตกต่างกัน 6 ชุด ในแต่ละวิชาและได้จัดเรียงสลับชุดไว้แล้ว - ให้กรรมการคุมสอบแจกให้ผู้เข้าสอบตามลำดับที่นั่งสอบเป็นรูปตัว U

58 แบบทดสอบ (ต่อ) 1. กรรมการคุมสอบ ต้องตรวจสอบว่าผู้เข้าสอบระบายและกรอกรหัสชุดข้อสอบที่ตนเองได้รับถูกต้อง

59 แบบทดสอบ (ต่อ) 2. ห้ามกรรมการคุมสอบหรือบุคคลอื่นมีการอ่านและวิเคราะห์แบบทดสอบ 3. ขอให้กรรมการคุมสอบแจกแบบทดสอบและกระดาษคำตอบเป็นรูปตัว U ไม่ต้องดำเนินการสลับแบบทดสอบด้วยตนเอง กรรมการคุมสอบต้องกำกับให้ผู้เข้าสอบกรอกข้อมูลบนปกแบบทดสอบ เพื่อเป็นหลักฐานสำหรับการ ตรวจสอบ

60

61

62 การยกเลิกกระดาษคำตอบ(คู่มือเขียวหน้า20-21)

63

64 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารจัดการในสนามสอบ ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ ?
กลุ่มที่ 1 ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษที่เพิ่มชื่อในระบบ ระหว่างวันที่ 5-15 มกราคม ซึ่ง สทศ. จะประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษในวันที่ 20 มกราคม 2561 จะต้องปฏิบัติ ดังนี้ 1.1 เข้าสอบในห้องสอบสุดท้ายโดยนั่งต่อจากเลขที่นั่งสอบสุดท้าย 1.2 ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษใช้ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (สทศ.3) และใช้แบบทดสอบสำรองพร้อมกระดาษคำตอบสำรองในการสอบ สำหรับเลขที่นั่งสอบให้ใช้เลขที่นั่งสอบที่ สทศ. ประกาศ 1.3 นักเรียนกลุ่มนี้จะถูกนำไปคิดค่าสถิติในการสอบ

65 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารจัดการในสนามสอบ ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ ?
กลุ่มที่ 2 ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษที่ไม่ได้เพิ่มชื่อในระบบ ระหว่างวันที่ 5-15 มกราคม 2561 โรงเรียนต้องดำเนินการ ดังนี้ 2.1 ให้โรงเรียนทำหนังสือเพื่อยืนยันว่านักเรียนได้ศึกษาอยู่ที่โรงเรียนนั้นจริง และแจ้งขออนุมัติจากศูนย์สอบก่อนถึงวันสอบ 2.2 ศูนย์สอบแจ้งให้สนามสอบทราบ เพื่อจัดเตรียมห้องสอบ 2.3 โรงเรียนต้องเตรียมเอกสารแบบฟอร์มสำหรับผู้ปฏิบัติผิดระเบียบการสอบ (สทศ.5) และกรอกข้อมูลให้ครบถ้วน พร้อมแนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรือสำเนาบัตรนักเรียน ไปยื่นในวันสอบที่สนามสอบเพื่อขออนุญาตเข้าสอบ

66 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารจัดการในสนามสอบ ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ
2.4 สนามสอบตรวจสอบหลักฐานว่าถูกต้องและตรวจสอบข้อมูลของนักเรียนที่จะเข้าสอบเป็นบุคคลเดียวกันกับที่โรงเรียนยืนยันจริง 2.5 ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษใช้ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (สทศ.3) และใช้แบบทดสอบสำรองพร้อมกระดาษคำตอบสำรองในการสอบ สำหรับเลขที่นั่งสอบให้เว้นว่างไว้ 2.6 นักเรียนกลุ่มนี้จะไม่นำไปคิดค่าสถิติในการสอบ

67

68 การบรรจุกระดาษคำตอบของผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ ?
ให้บรรจุในซองกระดาษคำตอบกลับสำหรับผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ สทศ. จัดเตรียมให้เฉพาะต่างหากวิชาละ 1 ซอง หากในสนามสอบนั้นๆ ไม่มีผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ สนามสอบต้องส่งซองกระดาษคำตอบกลับสำหรับผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (ที่ไม่ได้ใช้) คืน สทศ. โดยให้บรรจุอยู่ในกล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ ( ไม่ต้องนำกระดาษคำตอบสำรองที่ไม่ได้ใช้ใส่ในซองนี้คืน สทศ.)

69 การบรรจุซองกระดาษคำตอบลงกล่องปรับขนาด ?
ให้สนามสอบบรรจุซองกระดาษคำตอบใส่กล่องปรับขนาด (กล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษ คำตอบกลับ สทศ.) โดยใช้ 1 วิชาต่อ 1 กล่อง ห้ามรวมรายวิชา 1. กล่องปรับขนาด (กล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ.) คือ กระดาษรูปกากบาทที่ สทศ.จัดส่งให้ โดยสนามสอบต้องนำมาขึ้นรูปเพื่อทำเป็นกล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบ 2. การบรรจุซองกระดาษคำตอบใช้ 1 กล่องต่อรายวิชา และแยกตามระดับชั้น

70 การบรรจุซองกระดาษคำตอบลงกล่องปรับขนาด ?
3. ใบปะหน้ากล่องกระดาษคำตอบเพื่อส่งกลับ สทศ. ได้แยกเป็นรายวิชาที่จัดสอบ สนามสอบต้องนำมาติดให้ถูกต้อง และระบุจำนวนซองกระดาษคำตอบที่บรรจุอยู่ในกล่องให้ถูกต้อง 4. สทศ.จัดทำเทปกาวของ สทศ. เพื่อใช้ในการติดกล่องกระดาษคำตอบกลับเพื่อส่ง สทศ. โดยจัดเตรียมไว้ 3 เส้นต่อ 1 กล่อง 5. ตัวแทนศูนย์สอบนำกล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ. ที่ปิดผนึกเป็นที่เรียบร้อยแล้วส่งศูนย์สอบหลังจากเสร็จสิ้นการสอบในแต่ละวัน ห้ามทิ้งกล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ. ไว้ที่สนามสอบ

71 การบรรจุซองกระดาษคำตอบลงกล่องปรับขนาด ?
6. สนามสอบต้องกรอกข้อมูลบนใบปะหน้ากล่องให้ครบถ้วน และให้หัวหน้าสนามสอบลงนามให้เรียบร้อย พร้อมทั้งส่งมอบให้กับตัวแทนศูนย์สอบตรวจดูความเรียบร้อยของกล่องและลงนามที่ใบปะหน้ากล่อง เส้นที่ 1 เส้นที่ 2 เส้นที่ 3

72 ภาพแสดง เทปกาว สทศ. สำหรับติดกล่องกระดาษคำตอบ
เส้นที่ 2 , 3 ใช้สำหรับติด ด้านข้างทั้ง สองด้าน เส้นที่ 1 ใช้สำหรับ ติดด้านยาว

73 การแก้ไขข้อมูลเด็กพิเศษ ?
กรณีที่โรงเรียนมีนักเรียนที่เป็นเด็กพิเศษด้านต่างๆ โรงเรียนต้องแจ้งข้อมูลผ่านระบบ O-NET ในช่วงระหว่างวันที่ 1 ก.ค. – 31 ส.ค ให้เรียบร้อย ทั้งนี้กรณีที่โรงเรียนต้องรอเอกสารยืนยัน สามารถแจ้งแก้ไขข้อมูลเด็กพิเศษหลังจากที่ สทศ. ปิดระบบ ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ 1. โรงเรียนทำหนังสือราชการจากทางโรงเรียน ระบุรายชื่อนักเรียนที่เป็นเด็กพิเศษ ระดับชั้นและประเภทของเด็กพิเศษ พร้อมแนบเอกสารที่แสดงผลหรือหนังสือใบรับรองจากแพทย์

74 การแก้ไขข้อมูลเด็กพิเศษ ?
2. ส่งเอกสารทั้งหมดทางไปรษณีย์ถึง สทศ. (ไม่รับเอกสารที่ส่งทางโทรสาร) 3. โรงเรียนส่งเอกสารขอแก้ไขข้อมูลเด็กพิเศษถึง สทศ. ภายในวันที่ 5 มกราคม หากพ้นระยะเวลาที่ สทศ. กำหนด จะไม่ดำเนินการแก้ไขข้อมูล 4. หลักฐานที่การแก้ไขข้อมูลเด็กพิเศษ สทศ. จะดำเนินการแก้ไขให้เป็นข้อมูลที่ถูกต้องก่อนการประกาศผลสอบ สทศ. ขอสงวนสิทธิ์ไม่แก้ไขข้อมูลกรณีที่ส่งหลักฐานไม่ครบถ้วน หรือไม่จัดส่งเอกสารทางไปรษณีย์

75 การแก้ไขข้อมูลนักเรียน ?
1. ใช้แบบฟอร์มคำขอแก้ไขข้อมูล (สทศ.6) กรอกข้อมูลที่ต้องการแก้ไข ให้ถูกต้อง โดยใช้ 1 คน/แผ่น 2. แนบหลักฐานประกอบ เช่น สำเนาบัตรประชาชน หรืออื่นๆ ประกอบ 3. นำแบบฟอร์มคำขอแก้ไขข้อมูล (สทศ.6) พร้อมหลักฐานส่งสนามสอบในวันสอบ หรือ โรงเรียนทำหนังสือแจ้ง สทศ. พร้อมรวบรวมสทศ.6 พร้อมหลักฐานส่งทางไปรษณีย์ก่อนวันสอบ

76 การแก้ไขข้อมูลนักเรียน ?
4. สนามสอบรวบรวมเอกสารส่งให้ศูนย์สอบ เพื่อให้ศูนย์สอบรวบรวมส่งกลับ สทศ. พร้อมกล่องกระดาษคำตอบ (ไม่ต้องส่งทางไปรษณีย์) 5. สทศ. จะพิจารณาแก้ไขข้อมูลสำหรับผู้ที่ยื่นเอกสารครบถ้วน และจะไม่แก้ไขข้อมูลสำหรับผู้ที่ส่งเอกสารภายหลังจากการสอบเสร็จสิ้น ส่งเอกสารวันสอบที่สนามสอบ สำเนาบัตร ปชช. หรือหลักฐานอื่น รับรองสำเนาถูกต้อง แบบฟอร์ม สทศ.6

77 การรวบรวมเอกสารการจัดสอบส่ง สทศ. ?
ให้สนามสอบรวบรวม สทศ.5 และ สทศ.6 ใส่ซองเอกสารสีน้ำตาล นำส่งศูนย์สอบพร้อมกล่องกระดาษคำตอบ และศูนย์สอบรวบรวมซองเอกสารพร้อมกล่องกระดาษคำตอบให้กับ สทศ. ในวันที่ไปรับกระดาษคำตอบ

78 ระเบียบและข้อปฏิบัติ

79

80

81 กรรมการทุกท่านศึกษาคู่มือสำหรับกรรมการคุมสอบO-NET เล่มสีฟ้า/เขียว ให้ละเอียดอีกครั้ง

82 ค่าใช้จ่าย หัวหน้าสนามสอบวันละ550 บาท
กรรมการกลาง/กรรมการคุมสอบวันละ 450 บาท (แนบสำเนาบัตร/ใบสำคัญรับเงิน) อาหารเที่ยง/อาหารว่าง ขอสนามสอบเป็นผู้ดูแล นักการภารโรงวันละ 250 บาท

83 ส่งเอกสารหลักฐานทางการเงินคืนศูนย์สอบ
ค่าใช้จ่ายสนามสอบ ส่งเอกสารหลักฐานทางการเงินคืนศูนย์สอบ

84 การประสานงานสอบ O-NET

85 การติดต่อประสานงานการจัดสอบ
ศน.บุษ เฉพาะกรรมการสังเกตการสอบ/หัวหน้าสนามสอบ/กรรมการกลาง


ดาวน์โหลด ppt ประชุมการจัดสอบ O-NET2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google