ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สู่สุขภาพและคุณภาพชีวิต
กลยุทธ์ งานทันตสาธารณสุข สู่สุขภาพและคุณภาพชีวิต น.พ. ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย 9 เมษายน 2550
2
สิ่งที่ต้องปรับเปลี่ยน (1) บทบาท / ภารกิจหน้าที่
พรบ.สุขภาพแห่งชาติ 2550 & ระบบสุขภาพ รมต.สธ. (1/36) คสช. สวรส. นโยบาย อนุกรรมการ /คณะทำงาน อำนวยการ ปฏิบัติการตาม กม. กำกับ สนับสนุน ปฏิบัติการ จัดบริการ คุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ มีผู้แทน ร่วมกำหนด ร่วมพัฒนา รมต.สธ. ปลัด สธ. (2/36) กระทรวง สธ. สปสช. สิ่งที่ต้องปรับเปลี่ยน (1) บทบาท / ภารกิจหน้าที่ (2) โครงสร้างองค์กร อนุกรรมการ /คณะทำงาน (3) ระบบงาน - กระบวนงาน กลไกการเชื่อมประสานงาน มีผู้แทน ร่วมกำหนด ร่วมพัฒนา
3
กลไกการพัฒนาสุขภาพของพื้นที่
แผนชาติ นโยบายรัฐบาล เศรษฐกิจพอเพียง เอาชนะความยากจน เมืองไทยแข็งแรง ฯลฯ นโยบายกระทรวง กรมที่ทำงานเกี่ยวกับสุขภาพ การสนับสนุนขององค์กรต่างๆ พื้นที่ หน่วยงาน ที่เกี่ยวกับสุขภาพ สสจ., พมจ.,สพท. ฯลฯ รพศ., รพท., รพช. สอ. -ฯลฯ เอกชน สถานการณ์ของพื้นที่ อปท. -อบจ. - เทศบาล - อบต. วิชาการ ประชาคมสุขภาพ
4
การพัฒนาสุขภาพของพื้นที่
1. พัฒนาสุขภาพอย่างบูรณาการ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมทำ ร่วมใช้ (ไม่ใช่แผนของราชการ) 2. เป็นการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Healthy Public Policy) อย่างหนึ่ง 3. ผสมระหว่างแง่มุมทาง Technical และ Social (Biomedical) (Biosocial) 4. ไม่ใช่แผนพัฒนาสาธารณสุขของ สสจ. / กสธ. 5. กระบวนการและวิธีการเน้นการมีส่วนร่วม
5
"ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"
กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"
6
Six Key Functions to High Performance Organization
Organization Development Surveillances M & E Consumer Protection Information Healthy People Thailand Management Provider Support Knowledge Funder Alliance R & D M & E Human Resource Development
7
กลยุทธ์การส่งเสริมสุขภาพ Ottawa Charter กฎบัตรกรุงเทพ:
(PIRAB)
8
ลงทุน ชี้นำ สร้างศักยภาพ ระเบียบ/กฎหมาย ภาคีและเครือข่าย
Invest in policy, actions, infrastructure : to address the determinants for health ชี้นำ Advocate for health: based on human rights & solidality Bangkok Charter : PIRAB สร้างศักยภาพ Build capacity for: policy development, leadership, health promotion practice, knowledge transfer & research, health literacy ระเบียบ/กฎหมาย Regulate and legislate: to ensure protection from harm & opportunity for health ภาคีและเครือข่าย Partner & build alliances: to create sustainable action
9
สุขภาพช่องปาก ประชาชนมีสุขภาพช่องปากดีตลอดทุกช่วงวัยของชีวิต
10
สถานการณ์สุขภาพช่องปากไม่เร่งด่วนแต่สำคัญ ปัจจัยเสี่ยง สิ่งแวดล้อม
ผู้สูงอายุ 6 ล้าน คน 66 65 48 44 เด็กปฐมวัย 4 ล้าน คน สถานการณ์สุขภาพช่องปากไม่เร่งด่วนแต่สำคัญ ปัจจัยเสี่ยง สิ่งแวดล้อม ฟลูออไรด์ ผลิตภัณฑ์ น้ำตาล ผลการสำรวจระดับจังหวัดในปี พบว่า ฟันน้ำนม โรคฟันผุในฟันน้ำนมของเด็กไทยมีความชุกอยู่ในระดับสูง พบว่าเด็กเริ่มมีฟันผุตั้งแต่อายุน้อยมากคือเริ่มผุเมื่อมีฟันขึ้นประมาณ 4 ซี่ เด็กอายุ ขวบครึ่งมีฟันผุร้อยละสิบห้า และในอายุ 3 ขวบมีอัตราฟันผุถึงร้อยละ 65 แสดงว่ามีการเพิ่มขึ้นของฟันผุรวดเร็วมากในช่วงอายุ ประมาณ 2 ปี ฟันแท้ พบว่าเด็กวัยเรียน อายุ 12 ปีมีฟันแท้ผุ ร้อยละ 57 เมื่อดูแนวโน้มพบว่าใน 2 ปีความชุกของฟันผุในฟันแท้ดีขึ้นเล็กน้อย ส่วนความชุกการมีเหงือกอักเสบลดลงเล็กน้อยอยู่ที่ประมาณร้อยละ 50 กลุ่มผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้แก่การสูญเสียฟันจนไม่สามารถ บดเคี้ยวอาหารได้ ซึ่งดูจากการมีฟันคู่สบอย่างน้อย 4 คู่ ผลการสำรวจระดับจังหวัดในปี พบว่า ในผู้สูงอายุ มีฟันใช้งานได้มากขึ้นคือจากร้อยละ 44 เป็นร้อยละ 48 ตามลำดับเพราะนับคู่สบทั้งส่วนที่เป็นฟันแท้และฟันเทียม พบฟันตกกระในพื้นที่เสี่ยงสูง ร้อยละ แหล่งน้ำบริโภคชุมชน 56 จังหวัดมีค่า F เกินมาตรฐาน ( > 0.7 มก/ลิตร หรือ ppm ) น้ำดื่มบรรจุขวด จาก 45 จ. ( 1,500 ตัวอย่าง ) F เกิน 0.7 ppm 2.9%, F เกิน 1.5 ppm 0.4% (6 ยี่ห้อ) ผลิตภัณฑ์ดูแลอนามัยช่องปาก แปรงสีฟัน : 1/3 ไม่ได้มาตรฐาน ฉลาก : 36% ระบุชนิดขนแปรงไม่ตรงกับที่ตรวจ ยาสีฟัน ฟลูออไรด์ เด็กวัยประถม 6 ล้าน คน 60 57 51 49
11
พฤติกรรมเสี่ยง เด็กอายุ 1 ปีครึ่งยังกินนมขวด % เด็กอายุ 4 ปีกินขนมมากกว่า 2 ครั้งต่อวัน 51.7 % ขนมที่เด็กนักเรียนบริโภคมีแป้งและน้ำตาล % เด็กนิยมบริโภคน้ำอัดลมเพิ่มขึ้นตามวัย อายุ25-59ปีสูบบุหรี่เป็นประจำสูงกว่ากลุ่มอื่น21.3% ผู้สูงอายุสูบบุหรี่ ดื่มสุรา เคี้ยวหมากหมาก และมีโรคทางระบบที่มีผลต่อภูมิคุ้มกันและการดูแลตนเอง DM,CVA
12
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก
เด็กอายุ 1 ปีได้รับการแปรงฟันสม่ำเสมอ 44.8 % เด็กประถมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน % ผู้สูงอายุแปรงฟันเช้าและก่อนนอน % บริการจากสถานบริการของรัฐ( WBC) เด็กอายุ0-2ปีได้รับการตรวจฟัน % ผู้ปกครองได้รับการฝึกแปรงฟัน % เด็กประถมศึกษาได้รับsealant 619,304 คน กลุ่มผู้สูงอายุได้รับบริการใส่ฟันเทียม 61,197คน
13
ควบคุมและป้องกันโรคในช่องปากโดย ปรับพฤติกรรมและจัดการปัจจัยเสี่ยง
น้ำตาล ผลิตภัณฑ์ ดูแลช่องปาก เด็กปฐมวัย ฟลูออไรด์ โรคในช่องปาก เด็กวัยเรียน ผู้สูงอายุ สารเคมี บุหรี่ พฤติกรรม ปัจจัยเสี่ยง ควบคุมและป้องกันโรคในช่องปากโดย ปรับพฤติกรรมและจัดการปัจจัยเสี่ยง
14
กฎบัตรกรุงเทพ (Bangkok Charter) กับ งานทันตะฯ
Partner & Alliances ภาคีพันธมิตร (สสส. สปสช. สวรส. มสช. สสจ. รพ. สอ. รร. อปท.) กระตุ้น/ขยายแนวร่วม/บริหารโอกาส/ให้ทุน/วิจัยร่วม ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีประชุมอบรมสาธิตแลกเปลี่ยน สนับสนุนวิชาการ/เฝ้าระวัง ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน เครือข่ายชุมชน จัดการสภาพแวดล้อมและเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบสุขภาพช่องปากโดยเสริมความเข้มแข็งของภาคีชุมชนและพัฒนาโครงการด้านสุขภาพร่วมกัน เครือข่ายภาคธุรกิจ สนับสนุนข้อมูล/จัดทำ MOU/โครงการร่วม/ รับรองมาตรฐาน /แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชาชน รณรงค์สร้างกระแสการดูแลสุขภาพช่องปาก เพิ่มการเข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพช่องปากผ่านการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ทางสื่อมวลชน สื่อสิ่งพิมพ์ IT
15
กฎบัตรกรุงเทพ (Bangkok Charter) กับ งานทันตะฯ
Invest พัฒนางานส่งเสริมสุขภาพในแม่และเด็กให้มีคุณภาพและต่อเนื่อง : ชุดสิทธิประโยชน์ P&P ในเด็ก9เดือน บูรณาการสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัยในโครงการสานสายใยรัก พัฒนาระบบบริการ ในกลุ่มประถมศึกษา : โครงการยิ้มสดใสเด็กไทยฟันดี วางระบบเพิ่มความครอบคลุมบริการฟันเทียมแก่ผู้สูงอายุ: โครงการฟันเทียมพระราชทาน
16
กฎบัตรกรุงเทพ (Bangkok Charter) กับ งานทันตะฯ
Regulate & Legislate ประเมินผลกระทบหลังการใช้ประกาศฯ (อย.) 156 นโยบายนมจืด อาหารว่างในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประกาศฯ(อย.) ปริมาณฟลูออไรด์น้ำบรรจุขวด ยาสีฟัน มาตรฐานกรมอนามัย:ปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำบริโภคชุมชน ควบคุมคุณภาพมาตรฐานแปรงสีฟันติดดาว
17
กฎบัตรกรุงเทพ (Bangkok Charter) กับ งานทันตะฯ
Advocate: ให้ข่าวสารทันตสุขภาพ สร้างกระแสความสำคัญฟันน้ำนม “ลูกรักฟันดีเริ่มที่ซี่แรก” เครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน รณรงค์ โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ประกวดเมนูอ่อนหวาน (อาหารกลางวันในโรงเรียน) รณรงค์เฉลิมพระเกียรติฯโครงการฟันเทียมพระราชทาน ประกวด 10 ยอดฟันดี 80 ปี
18
กฎบัตรกรุงเทพ (Bangkok Charter) กับ งานทันตะฯ
Build capacity พัฒนาศักยภาพพื้นที่ในการแก้ปัญหา Fสูงในน้ำบริโภค จัดการเรียนรู้ในโรงเรียน เรียนรู้คู่วิจัย บูรณาการหลักสูตร พัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง เครือข่ายเด็กไทยฟันดี มหกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคโนฯส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ พัฒนาชมรมผู้สูงอายุต้นแบบในการส่งเสริมสุขภาพ พัฒนาศักยภาพทันตาภิบาลใน PCU
19
Bangkok Charter กับ การพัฒนาสุขภาพในพื้นที่
Build capacity: อบรม/ ให้ความรู้ /ฝึกทักษะ Advocate: ให้ข่าวสารกับระดับนโยบายในพื้นที่ Risk communication Partners : อปท. สถานศึกษา ผู้ประกอบการ การนำกลยุทธ์ของ Bangkok charter ไปใช้ในการพัฒนาสุขภาพระดับพื้นที่ ตัวอย่างเช่น เริ่มจากการพัฒนาศักยภาพทั้งในส่วนบุคคล และผ่านทางการพัฒนาเจ้าหน้าที่หรือผู้เกี่ยวข้องต่างๆ แต่ที่จำเป็นและควรทำแต่แรกๆ คือ การชี้นำ หรือ Advocate ให้ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องและจำเป็นแก่ระดับนโยบายหรือผู้ที่เป็น Gate Keeper ในพื้นที่ เพื่อกระตุ้นให้พันธมิตรและภาคี พัฒนาเป็นงานโครงการในลักษณะงานร่วมกัน(Partnership)ร่วมกันพัฒนานโยบาย หรือสนับสนุนทุนเป็นการ Invest เช่น นโยบายส่งคนไปเรียนทันตาภิบาล สนับสนุนงานบริการ สนับสนุนการจัดหาแหล่งน้ำบริโภค นอกจากนี้ยังสามารถผลักดันพัฒนาให้เกิดการออกระเบียบ กฎเกณฑ์ของท้องถิ่นหรือชุมชน Invest : งานนโยบาย งานบริการ สิ่งแวดล้อม Regulate : กฎ/ระเบียบของท้องถิ่น ข้อกำหนดชุมชน
20
"ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"
กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.