งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)
                    ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด มีผลต่อการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและเซลล์ของระบบประสาทจะมีผลให้เกิดความพิการทางสมองและเกิดภาวะปัญญาอ่อนตามมา มักแสดงอาการเด่นชัดขึ้นเมื่ออายุมากกว่า 3 เดือน-3 ปี

2 สรุปผลการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อการขาดสารไอโอดีนจังหวัดชลบุรี
(ค่าTSHมากกว่า11.2mu/lแยกรายอำเภอ ปี2556 อำเภอ จำนวนรายที่ส่งตรวจทั้งหมด จำนวนที่มีภาวะเสี่ยง ร้อยละ จำนวนที่ตรวจซ้ำ/ พบผิดปกติ บ่อทอง 483 23 4.76 หนองใหญ่ 300 15 5.00 บ้านบึง 1,617 90 5.57 เมือง 6,608 392 5.93 เกาะสีชัง 25 2 8.0 พานทอง 760 64 8.42 ศรีราชา 9037 1026 11.35 28/5 พนัสนิคม/เกาะจันทร์ 1574 181 11.50 5/0 บางละมุง 4719 544 11.53 สัตหีบ 4112 768 18.68 รวม 29235 3105 10.62 34/5

3 ร้อยละทารกที่มีอายุครบ ≥ 48 ชม. เจาะส้นเท้า ที่มีค่าTSH>11
ร้อยละทารกที่มีอายุครบ ≥ 48 ชม.เจาะส้นเท้า ที่มีค่าTSH>11.2<25mu/l แยกรายโรงพยาบาล ปี2556

4 สรุปติดตามสถานการณ์ภาวะพร่องไทรอยด์/ป่วยในทารกแรกเกิดโรงพยาบาลสมิติเวช
ทารกแรกเกิดมีภาวะพร่องไทรอยด์ (TSH >11.2 mU/) ร้อยละ 37.76 - ทารกแรกเกิดคัดกรองและตรวจยืนยันซ้ำ พบป่วยเป็นโรค 5 ราย สถานการณ์ในโรงพยาบาล แพทย์ส่วนใหญ่มีการจ่ายวิตามินเสริมไอโอดีนให้แก่หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์แต่ไม่ครบทุกคน ไม่มีการให้สุขศึกษาประโยชน์ของไอโอดีนให้แก่หญิงตั้งครรภ์ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบไม่ทราบนโยบายและความสำคัญของไอโอดีน ทารกที่เป็นโรคทุกรายมีการส่งรักษาต่อที่โรงพยาบาล ศรีนครินทร์ (เครือข่าย)ซึ่งทางโรงพยาบาลให้การรักษาและติดตามอย่างต่อเนื่อง

5 โรงพยาบาลสมิติเวชศรีราชา
ผลการติดตามเยี่ยม โรงพยาบาลสมิติเวชศรีราชา                    

6 ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน
กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้ทารกที่คลอดในประเทศไทยทุกรายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีราชา พบอัตราความผิดปกติดังนี้ ซึ่งเป็นอัตราที่สูงที่สุดในจังหวัดชลบุรี จึงได้มีการทบทวน ถึงสาเหตุของภาวะนี้ตั้งแต่หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ ทารกคลอด หลังคลอด 4/4/2019 Copyright 2014

7 ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน
กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้ทารกที่คลอดในประเทศไทยทุกรายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีราชา พบอัตราความผิดปกติดังนี้ ซึ่งเป็นอัตราที่สูงที่สุดในจังหวัดชลบุรี จึงได้มีการทบทวน ถึงสาเหตุของภาวะนี้ตั้งแต่หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ ทารกคลอด หลังคลอด 4/4/2019 Copyright 2014

8 ผลการตรวจ TSH ปี 2556 ผลการตรวจคัดกรอง TSH ที่มากกว่า 11.2 mU/L จำนวน 313 ราย จากจำนวนคนไข้ทั้งหมด 829 ราย ติดตามผู้ป่วยมาตรวจซ้ำในกรณีที่ผล TSH > 25 mU/L ครบทุกราย ( 18 ราย ) - ผลการตรวจซ้ำพบว่ามีป่วย 4 รายได้รับการรักษาด้วยยา 4/4/2019 Copyright 2014

9 จากการทบทวน case พบว่า
1. Case คลอดทั้งหมด 829 ราย จากคลินิกส่งมาคลอด 135 รายANC ที่โรงพยาบาลเอง 694 ราย 2.หญิงที่มาฝากครรภ์ในโรงพยาบาลจะมาฝากครรภ์ในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์เป็นส่วนมาก 3. การได้รับยาที่มีส่วนผสมของไอโอดีน ในโรงพยาบาลมีการสั่งยาให้ผู้ป่วยคือ Obimin AZ / Prenamed 4. หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่ได้รับยาที่มีส่วนผสมของไอโอดีน จำนวน 255 ราย 4/4/2019 Copyright 2014

10 ทบทวนต่อ 5. พฤติกรรมการรับประทานอาหาร ส่วนใหญ่ทำอาหารเอง มีบางท่านที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทะเลได้เนื่องจากได้กลิ่นแล้วคลื่นไส้ อาเจียน และมีส่วนน้อยที่ซื้อรับประทาน 6. การได้รับอาหารเสริม ส่วนใหญ่ไม่ได้รับ 7.หญิงที่มาฝากครรภ์ได้รับคำแนะนำเรื่องอาหาร ยาและการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์แต่ยังไม่ได้เน้นถึงการรับประทานอาหารที่มีส่วนผสมของไอโอดีน 4/4/2019 Copyright 2014

11 การวางแผนและแนวทางแก้ไข
1. จัดหายาที่มี ไอโอดีน มาใช้ในโรงพยาบาล ได้ดำเนินการแล้วแต่ยาหมดและไม่จำหน่ายให้กับเอกชน 2. ติดตามการรับประทานยาของหญิงตั้งครรภ์ มีการติดตามการรับประทานยาของหญิงตั้งครรภ์โดยแพทย์ 3. ติดตามพัฒนาการของเด็กสมวัย ( ตามการฉีดวัคซีนของเด็ก ) 4. การให้ยาที่มีไอโอดีนในหญิงหลังคลอดต่อเนื่อง 6 เดือน 5. การให้คำแนะนำเกี่ยวกับผลดี ผลเสีย ของการรับประทานยา และผลิตภัณฑ์ที่มีไอโอดีนเสริม ในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ หรือเมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก 4/4/2019 Copyright 2014

12 บอร์ดให้คำแนะนำที่แผนกสูติ
Slide ในการสอน ANC บอร์ดให้คำแนะนำที่แผนกสูติ 4/4/2019 Copyright 2014

13 กรณี case ศึกษาเด็กป่วย 4 ราย
ชื่อ - สกุล OBIMIM AZ PRENAMED ฝากครรภ์ ( wk ) อาหารเสริม พัฒนาการเด็ก การรักษา พฤติกรรมการรับประทานอาหาร คุณ……….. จิตพูลผล ไม่ได้รับยาที่มีไอโอดีน 5 X ปกติ 1.3 ปี ได้รับยาต่อเนื่อง ทำเอง+ ซื้อ+ทานนอกบ้าน คุณ……….. ช่างเหล็ก 32 wk 6 เดือนยังไม่คว่ำ คุณ………. ลือธรรมภักดี 26 ปกติ 1 ปี ซื้อ+ทานนอกบ้าน คุณ……….. อริยธนกุล 10 wk 6 ทำเองส่วนใหญ่ หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่ได้รับยาที่มีไอโอดีน มี 1 รายที่เด็กต้องได้รับยา(จาก 255 ราย) การพัฒนาการของเด็กสมวัย มี 1 รายที่อายุ 6 เดือนยังคว่ำไม่ได้ แนะนำพบนักพัฒนาการเด็ก อีก 3 รายพัฒนาการปกติ เด็กทุกรายจะได้รับยาต่อเนื่องจนอายุครบ 3 ปี 4/4/2019 Copyright 2014

14 การสนับสนุนจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
สนับสนุนยาเม็ดเสริมไอโอดีน (TRIFERDINE)ให้โรงพยาบาลสมิติเวชศรีราชา ให้หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่สามารถรับประทานยาที่โรงพยาบาลจัดซื้อเนื่องจากมีขนาดใหญ่และมีอาการคลื่นอาเจียนเดือนละ 5 ราย(รายใหม่) แต่งตั้งเป็นคณะกรรมการMCH Board จังหวัดชลบุรี(ภาคเอกชน) เชิญเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเข้าร่วมประชุมเพื่อรับทราบนโยบายและพัฒนาองค์ความรู้และรับทราบแนวทางในการดำเนินงานโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว

15 ขอบคุณค่ะ ด้วยรักและห่วงใย 4/4/2019 Copyright 2014


ดาวน์โหลด ppt การคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google