ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
กลุ่มส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยเรียน สำนักโภชนาการ
2
ร้อยละเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน ภาคเรียนที่ 1 (พ.ค.-ก.ค.)
เป้าหมาย ปี 60 ร้อยละ 66 สถานการณ์แนวโน้มเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เกือบทุกเขต แต่ก็ยังไม่สามารถแต่ผลการดำเนินงานดังกล่าวก็ยังไม่บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ปี 60 ที่ร้อยละ 66 อาจจะเนื่องมาจากปัญหาทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน ยังคงเป็นปัญหาอยู่ดังเช่น เรื่องอ้วน ที่มา: รายงาน HDC วันที่ 20 ก.ย.2560
3
สถานการณ์ภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
ผอม เตี้ย เริ่มอ้วนและอ้วน ที่มา: ระบบรายงาน HDC วันที่ 1 ส.ค.60
4
เปรียบเทียบเป้าหมายและสถานการณ์ร้อยละเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จำแนกรายเขตสุขภาพ เป้าหมายปี ร้อยละ 66 ผลการดำเนินงานรายเขตสุขภาพ พบว่ามีเพียง 3 เขต คือเขต ส่งผลให้ภาพรวมการดำเนินงานยังไม่บรรลุเป้าหมายที่ร้อยละ 66 ที่มา: ระบบรายงาน HDC วันที่ 1 ส.ค.2560
5
ค่าเป้าหมาย ร้อยละเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน ปี 2561 รายศูนย์อนามัย
หน่วยงาน Baseline ภาคเรียนที่ 1 ปี 2560 ค่าเป้าหมาย ศอ.1 เชียงใหม่ 62.1 65 ศอ.2 พิษณุโลก 62.6 66 ศอ.3 นครสวรรค์ 63 ศอ.4 สระบุรี 66.5 70 ศอ.5 ราชบุรี 62.9 ศอ.6 ชลบุรี 65.2 68 ศอ.7 ขอนแก่น 71 ศอ.8 อุดรธานี 69 ศอ.9 นครราชสีมา 70.5 74 ศอ.10 อุบลราชธานี ศอ.11 นครศรีธรรมราช 62.8 ศอ.12 ยะลา 62 ภาพรวม
6
ร้อยละของเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน หน่วยงานที่รับผิดชอบ
สถานการณ์ จากระบบรายงาน HDC ร้อยละของเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน ยังไม่บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ร้อยละ 66 ซึ่งผลการดำเนินงานปี 2560 เพียงร้อยละ 65.1 เท่านั้น ประเด็น รายละเอียด ตัวชี้วัดติดตาม ร้อยละของเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน (ร้อยละ 68) การตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น ส่งเสริมเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน และแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการ 2. การคัดกรอง ส่งต่อ การจัดการแก้ไขปัญหาและคุณภาพข้อมูลจากระบบ HDC เป้าหมาย เด็กอายุ 6-14 ปี ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาทุกสังกัด (มัธยมศึกษาตอนต้น ม.1-ม.3) หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมอนามัย การจัดเก็บข้อมูล ระบบรายงาน HDC กองยุทธศาสตร์และแผนงาน และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
7
ร้อยละของเด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน 68
เป้าหมายปี 61 ร้อยละของเด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน 68 Template ปี 2561 คำนิยาม เด็กนักเรียน : เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 6 ปี จนถึง 14 ปี (โดยเริ่มนับตั้งแต่อายุ 6 ปี เต็ม – 14 ปี 11 เดือน 29 วัน) สูงดี : เด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไป เมื่อเทียบกับ กราฟ การเจริญเติบโต กรมอนามัย ปี มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ -1.5 S.D. ของส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ สมส่วน : เด็กที่มีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน เมื่อเทียบกราฟการ เจริญเติบโตกรมอนามัย ปี 2542 มีค่าระหว่าง +1.5 S.D. ถึง -1.5 S.D. ของน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง เด็กสูงดีสมส่วน :เด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไป และมีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน (ในคนเดียวกัน) โรงเรียนระดับประถมศึกษาทุกสังกัด : โรงเรียนระดับประถมศึกษา หรือโรงเรียนระดับประถมศึกษาขยายโอกาส ทุกสังกัดและมัธยมศึกษา ทุกสังกัด(มัธยมศึกษาตอนต้น ม.1 - ม.3)
8
ระบบรายงาน HDC กองยุทธศาสตร์และแผนงาน และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผล 3 ด. 6 ด. 9 ด. 12 ด. - ร้อยละ 68 วิธีการประเมินผล ระบบรายงาน HDC กองยุทธศาสตร์และแผนงาน และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด วิเคราะห์และสรุปผล ปีละ 2 ครั้ง โดยจัดเก็บข้อมูล 2 ภาคเรียน ภาคเรียนที่ 1 พื้นที่ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และลงข้อมูล เดือน พ.ค., มิ.ย., ก.ค.ส่วนกลางจะตัดข้อมูล รายงาน ณ วันที่ 15 ส.ค. ภาคเรียนที่ 2 พื้นที่ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และลงข้อมูล เดือน ต.ค., พ.ย., ธ.ค., ม.ค. ส่วนกลางจะตัด ข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 15 ก.พ.
9
ประเด็นการตรวจราชการติดตาม
เป้าหมาย มาตรการ ดำเนินงานในพื้นที่ แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ ประเด็นการตรวจราชการที่ 1 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน และแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการ เขตสุขภาพและจังหวัดมีการถ่ายทอดนโยบายและแนวทางให้แก่พื้นที่ 1.พัฒนารร.ให้เป็นรร.ต้นแบบ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ 2. ขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริม ด้านโภชนาการ (นม ไข่ ผัก) กิจกรรมทางกาย การแปรงฟัน คุณภาพ และการจัดการสวล. ที่เอื้อต่อสุขภาพ และส่งเสริม ให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึง ประสงค์ 3. สร้างการมีส่วนร่วมภาคี เครือข่าย ส่วนกลาง-เขต-จว.- รร.-สถานบริการสาธารณสุข จัดทำแนวทางการส่งเสริม โภชนาการ และกิจกรรมทางกาย เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน 1. มีทีมงานรับผิดขอบ โครงการระดับจังหวัด (PM เด็กวัยเรียน) 2. มีการจัดทำแผนงานหรือ โครงการ 3. การมีส่วนร่วมของภาคี เครือข่ายในการจัดทำ แนวทางการดำเนินงาน และกิจกรรมส่งเสริมเด็ก วัยเรียน สูงดีสมส่วน 1. จังหวัดมี PM เด็ก วัยเรียนและคณะทำงานรับผิดชอบโครงการ 2. แผนงานหรือโครงการ 3. รายงานผลการติดตามกำกับในโรงเรียน 4 .การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวข้องกับเด็กวัยเรียน เขตสุขภาพและจังหวัด มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในพื้นที่ พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข ครู ผู้ปกครอง และเครือข่าย และขับเคลื่อนงาน ในพื้นที่ 1. มีโครงการพัฒนา ศักยภาพและสรุปผล รายงาน 2. มีรายงานการดำเนิน กิจกรรมส่งเสริมเด็ก วัยเรียนสูงดีสมส่วน 1. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่เกี่ยวข้อง 2. รายงานการดำเนินกิจกรรม
10
มาตรการดำเนินงาน ในพื้นที่
เป้าหมาย มาตรการดำเนินงาน ในพื้นที่ แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ ประเด็นการตรวจราชการที่ 2 การคัดกรอง ส่งต่อ การจัดการแก้ไขปัญหา และคุณภาพข้อมูลจากระบบ HDC เขตสุขภาพและจังหวัด มีการติดตามคุณภาพรายงานผ่านระบบ HDC 1.การรายงานผลการ ดำเนินงานผ่านระบบ HDC 2. การกำกับ ติดตามการ ดำเนินงานในพื้นที่ 1.รายงานสถานการณ์ภาวะ โภชนาการ ผ่านระบบ HDC 2.มีรายงานการแก้ไขปัญหาภาวะ ทุพโภชนาการเด็กวัยเรียน (อ้วน ผอม เตี้ย) รวมทั้งการ คัดกรอง ส่งต่อ เด็กกลุ่มเสี่ยง ส่งต่อสถานบริการสาธารณสุข 3. มีรายงานโรงเรียนต้นแบบด้าน การส่งเสริมสุขภาพ 1. สรุปผลสถานการณ์ ภาวะโภชนาการของ นักเรียนที่มีความ ครอบคลุมและมี คุณภาพ 2.รายงานการแก้ไข ปัญหาภาวะทุพ โภชนาการเด็ก วัยเรียน (อ้วน ผอม เตี้ย) รวมทั้งการคัดกรอง ส่งต่อ เด็กกลุ่มเสี่ยง ส่งต่อสถานบริการ สาธารณสุข 3.รายงานโรงเรียน ต้นแบบด้านการส่งเสริม สุขภาพ เขตสุขภาพและจังหวัด มีการสื่อสารสาธารณะ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ในพื้นที่ สนับสนุนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการสื่อสารองค์ความรู้และนวัตกรรมส่งเสริมการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วนในพื้นที่แบบองค์รวม ผ่านสื่อ ทุกรูปแบบ วิธีการ และรูปแบบการสื่อสารเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ข้อมูลเชิงประจักษ์ของวิธีการและรูปแบบการสื่อสารสาธารณะ
11
ขอบคุณ และสวัสดีค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.