ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สำนักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี
โครงการสร้างทักษะและส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร กิจกรรมสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรรายย่อย และกิจกรรมพัฒนาการเกษตรเพื่อความยั่งยืน สำนักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี
2
วัตถุประสงค์ สร้างรายได้ให้เกษตรกรรายย่อย เพื่อให้สามารถปรับตัวอยู่ร่วมกับบริบทสังคม เศรษฐกิจ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างยั่งยืน วางรากฐานการพัฒนาการเกษตรในระยะยาว เกิดแนวทางการพัฒนารูปแบบของโครงการที่เกิดจากความร่วมมือ และความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง สามารถสร้างรายได้ และก่อให้เกิดความยั่งยืนในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
3
กิจกรรมการฝึกอบรมเกษตรกร
กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรมการฝึกอบรมเกษตรกร - เป็นเกษตรกร/สมาชิกครัวเรือนเกษตรกร ที่ขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (อบรมหลักสูตรละ 50 ราย/รุ่นๆ ละ 3 วัน) คุณสมบัติ 1. เกษตรกร และ/หรือสมาชิกในครัวเรือนเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกร กับทุกหน่วยงานในสังกัด กษ. และกลุ่มองค์กรเกษตรที่จดทะเบียนกับหน่วยงาน กษ. 2. เป็นเกษตรกรที่มีความสนใจสมัครเข้าร่วมโครงการ และต้องสามารถเข้ารับการ ฝึกอบรมได้ต่อเนื่องตลอดหลักสูตร
4
เดือนเมษายน – พฤศจิกายน 2561
พื้นที่ดำเนินการ 7 อำเภอ 75 ชุมชน อ.เมือง (7) อ.สามโคก (12) อ.ลาดหลุมแก้ว (13) อ.ธัญบุรี (5) อ.ลำลูกกา (12) อ.คลองหลวง (10) อ.หนองเสือ (16) เดือนเมษายน – พฤศจิกายน 2561 ระยะเวลาดำเนินการ
5
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกษตรกรได้รับการฝึกอบรมเพื่อเรียนรู้ ฝึกวิธีคิดการพัฒนาตนเองและสามารถปรับตัวอยู่กับบริบทสังคม เศรษฐกิจ ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงในอนาคต 2. เพื่อให้เกษตรกรมีศักยภาพในการรวมกลุ่มและบริหารจัดการกลุ่ม
6
จัดเวทีชุมชน (ครั้งที่ 1) สนง.กษอ. รับสมัครเกษตรกร (แบบ กย.1-03)
ดำเนินการฝึกอบรม ระดับจังหวัด ทำความเข้าใจการดำเนินงานให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องระดับอำเภอ/จังหวัด ก่อนการฝึกอบรม ระดับอำเภอ ทำความเข้าใจขั้นตอนการดาเนินงานโครงการให้แก่ คกก. ระดับชุมชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จัดเวทีชุมชน (ครั้งที่ 1) พิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการฯ ระดับชุมชน และเสนอแผนการจัดฝึกอบรม (แบบ กย.1-01) 1 ประกาศประชาสัมพันธ์เพื่อให้เกษตรกรสมัครเข้ารับการฝึกอบรม (อย่างน้อย 3 วัน) (แบบ กย.1-02) 2 สนง.กษอ. รับสมัครเกษตรกร (แบบ กย.1-03) 3 สนง.กษอ. ร่วมกับหน่วยงานในกษ. ตรวจสอบและคัดเลือกเกษตรกรเข้ารับการฝึกอบรม คนก.ระดับชุมชน ศพก. กษอ. ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการฝึกอบรม (แบบ ตย.ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการฝึกอบรม) 4
7
การเตรียมการก่อนการฝึกอบรม
ดำเนินการฝึกอบรม 5 การเตรียมการก่อนการฝึกอบรม 1. ขออนุมัติโครงการและงบประมาณ ทำสัญญายืมเงิน 2. ทำหนังสือเชิญวิทยากร และแจ้งเกษตรกรเป้าหมายเข้ารับการอบรม 3. จัดเตรียมวัสดุฝึกอบรม/ฝึกปฏิบัติ 4. จัดเตรียมเอกสารการฝึกอบรม แบบลงทะเบียน กำหนดการฝึกอบรม เอกสารประกอบการบรรยาย/ฝึกปฏิบัติ 5. จัดเตรียมเชิญประธานในพิธีเปิด/ปิดการฝึกอบรม พร้อมทั้งร่าง คำกล่าวเปิด/ปิดการฝึกอบรม 6. จัดเตรียมสถานที่จัดการฝึกอบรม (แบบ กย.1-04) การเตรียมการระหว่างการฝึกอบรม 1. ลงทะเบียนเข้ารับการฝึกอบรมประจำวัน 2. พิธีเปิด/ปิดการฝึกอบรม 3. อบรมถ่ายทอดความรู้ตามหลักสูตรที่กำหนดรายวิชา (บรรยาย/ฝึกปฏิบัติ) 4. เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายต่าง (ค่าพาหนะ ค่าอาหาร อาหารว่าง และค่าสมนาคุณวิทยากร) 5. จัดทำใบประกาศนียบัตร โดยกษอ. เป็นผู้ลงนาม ในใบประกาศนียบัตร การรายงานผลการฝึกอบรม 1. รายงานผลการฝึกอบรม (ผลการอบรมและแบบประเมินความรู้) โดยสนง.กษอ. รายงานผลให้สนง.กษจ. ภายใน 3 วัน หลังอบรมแต่ละรุ่น และสรุปรายงานผลการฝึกอบรมทั้งหมด ภายใน 5 วันหลังอบรมเสร็จสิ้นทุกรุ่น 2. รายงานผลการฝึกอบรมประจำเดือน โดยสนง.กษจ. ส่งรายงานให้สำนักงานบริหารจัดการโครงการฯ กสก.ทุกเดือน (แบบ กย.1-05)
8
รายละเอียดหลักสูตรการฝึกอบรมเกษตรกร
หลักสูตรการพัฒนาการเกษตร ประกอบด้วย 3 กลุ่มวิชา จำนวน 18 ชั่วโมง กลุ่มวิชาที่ 1 - กลุ่มวิชาสร้างการรับรู้ความเข้าใจร่วมกันในการขับเคลื่อนประเทศ - กลุ่มวิชาบังคับ จำนวน 2 วิชา 3 ชั่วโมง กลุ่มวิชาที่ 2 - กลุ่มวิชาเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร จำนวน 5 วิชา 10 ชั่วโมง 30 นาที กลุ่มวิชาบังคับ จำนวน 3 วิชา 4 ชั่วโมง 30 นาที - วิชาเลือก จำนวน 2 วิชา 6 ชั่วโมง กลุ่มวิชาที่ 3 - กลุ่มวิชาการบริหารจัดการองค์กรเกษตรกร - กลุ่มวิชาบังคับ จำนวน 3 วิชา 4 ชั่วโมง 30 นาที
9
การติดตามและประเมินผล
การติดตามความก้าวหน้ากิจกรรมฝึกอบรม สนง.กษอ.บันทึกความก้าวหน้าและผลการฝึกอบรมแต่ละรุ่นลงระบบของกสก. ตามเวลาที่กำหนด และรายงานผลการดาเนินกิจกรรมการฝึกอบรม เสนอ สนง.กษจ. ภายใน 3 วัน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรมแต่ละรุ่น สนง.กษอ. ประเมินผลการฝึกอบรม ตามแบบ (กย.1-06) ทุกรุ่น ทุกหลักสูตร และให้ส่งเอกสารผลการประเมินการฝึกอบรมที่สนง.กษจ. 15 วัน หลังสิ้นสุดการอบรมทุกหลักสูตร เพื่อรวบรวมส่ง กสก.ต่อไป
10
สนง.กษจ. รวบรวมผลการดำเนินงาน และรายงานผลการดำเนินงานต่อคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับจังหวัด และ กสก.ทุกวันจันทร์นับตั้งแต่เริ่มการฝึกอบรม (รายงานตามระบบปกติ) และส่งรายงานให้สานักงานทาง E – mail :
11
สิทธิประโยชน์ที่เกษตรกรจะได้รับจากการเข้ารับการอบรม
12
กิจกรรมการพัฒนากลุ่มเกษตรกร
เพื่อให้เกิดแนวทางการพัฒนาในรูปแบบของโครงการที่เกิดจากความร่วมมือของชุมชนอย่างแท้จริง สามารถสร้างรายได้และก่อให้เกิดความยั่งยืนในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม วัตถุประสงค์ 1. จำนวน 75 ชุมชน (ตามประกาศกรมส่งเสริมการเกษตร) 2. สนับสนุนการดำเนินการประกอบการของเกษตรกรชุมชน ละ 300,000 บาท เป้าหมาย
13
คุณสมบัติ ของกลุ่มเกษตรกร
1. เป็นกลุ่มอาชีพการเกษตร ที่ได้รับการรับรองจาก คณะกรรมการฯ ระดับชุมชน 2. ประกอบด้วยเกษตรกรสมาชิกกลุ่มละไม่น้อยกว่า 25 ราย 3. ต้องมีเกษตรกรสมาชิกที่ผ่านการอบรมตามหลักสูตร การพัฒนาการเกษตร จำนวนไม่น้อยกว่า 10 ราย 4. เกษตรกรสมาชิกต้องเป็นเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกร กับทุก หน่วยงานในสังกัด กษ. 5. มีความพร้อมในการพัฒนา และจัดทำโครงการเพื่อขอรับ การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
15
กลุ่มย่อยในชุมชน ต้องมีคณะกรรมการกลุ่ม
1. มอบหมายเปิดบัญชีและการเบิกจ่ายโครงการ (เปิดบัญชีธนาคาร 3 คน มีอำนาจเบิกจ่าย 2 ใน 3 ) ทั้งนี้ผู้มีอำนาจเบิกจ่ายกลุ่มย่อยต้องไม่ซ้ำกับชุมชน 2. มอบหมายผู้รับผิดชอบดำเนินการจัดซื้อ 2 คน และตรวจรับวัสดุอุปกรณ์ อย่างน้อย 2 คน (ไม่เป็นบุคคลเดียวกัน) 3. จัดทำโครงการ/แผนการปฏิบัติงาน/แผนใช้จ่ายงบประมาณ เสนอต่อ คณะกรรมการพัฒนาด้านการเกษตรระดับชุมชน
17
คณะกรรมการพัฒนาด้านการเกษตรระดับอำเภอ
คำสั่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ 336/2561 ลงวันที่ 27 เมษายน 2561เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาด้านการเกษตรระดับอำเภอ/อำนาจหน้าที่ แนบ
18
คณะกรรมการพัฒนาด้านการเกษตรระดับอำเภอ
ดำเนินการแต่งตั้ง คำสั่งอำเภอ....ที่ เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาด้านการเกษตร ระดับชุมชน 1. ขับเคลื่อน กำกับ ติดตาม ตรวจสอบการดำเนินงานโครงการ การจัดซื้อจัดจ้าง และการใช้จ่ายงบประมาณของชุมชนที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณโครงการ ให้เป็นไปด้วยความถูกต้อง เป็นธรรม ทั่วถึง และโปร่งใส 2. ให้คำแนะนำ ข้อเสนอแนะ แนวทางการแก้ไขปัญหา ช่วยเหลือ และสนับสนุนการดำเนินงานโครงการให้สำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 3. รายงานความก้าวหน้า ปัญหาและอุปสรรค แนวทางแก้ไข การดำเนินงานและการเบิกจ่ายงบประมาณให้คณะกรรมการพัฒนาด้านการเกษตรระดับอำเภอทราบ ทุกสัปดาห์โดยเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำในฐานะเลขานุการของคณะกรรมการพัฒนาด้านการเกษตรระดับชุมชน ตามแบบรายงานที่กรมส่งเสริมการเกษตรกำหนด 4. ความถี่ของการปฏิบัติหน้าที่ : ทุกสัปดาห์ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 5. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
20
คณะกรรมการพัฒนาด้านการเกษตร ระดับชุนชน
รวบรวมโครงการของกลุ่มย่อย คณะกรรมการพัฒนาด้านการเกษตร ระดับอำเภอ นัดประชุมพิจารณาอนุมัติโครงการ/เห็นชอบแผนปฏิบัติงาน/แผนการใช้จ่ายงบประมาณ พร้อมจัดทำรายงานการประชุม โดย สำนักงานเกษตรอำเภอ
21
ส่งผลการพิจารณาให้กรมฯ โอนจัดสรรงบประมาณ
ผ่าน ไม่ผ่าน จัดทำสรุปแผน/รายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ พ.ศ (แบบ กย2-05) ส่งกลับคระกรรมการระดับชุมชน พิจารราปรับแก้ภายในระยะเวลาที่กำหนด คณะกรรมการ ระดับอำเภอพิจารณา สนงกษจ. คณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับจังหวัด กรณีโครงการไม่อยู่ใน 8 ประเภท ส่งผลการพิจารณาให้กรมฯ โอนจัดสรรงบประมาณ
22
เงื่อนไข 1. การเสนอของบประมาณ ไม่เกิน 300,000 บาท/ชุมชน ไม่จำกัดจำนวนโครงการ งบประมาณที่เสนอขอต้องใช้สำหรับค่าจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เท่านั้น ทั้งนี้ให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการใช้แรงงานในการดำเนินการตามโครงการ/มติของกลุ่ม วัสดุอุปกรณ์มีคุณภาพเหมาะสมกับราคา/พิจารณาจัดซื้อจากท้องถิ่นเป็นอันดับแรก/ราคาอ้างอิงจากราคาท้องถิ่น 4. กรณีวุสดุอุปกรณ์มีมูลค่าเกิน 10,000 บาท ต้องมีใบสืบราคาในท้องถิ่นแนบมาอย่างน้อย 2 แหล่ง 5. ไม่จัดซื้อปุ๋ยเคมี สารป้องกันและกำจัดศัตรูพืช (ยกเว้นกรณี ยูเรียที่ต้องเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการทำปุ๋ยอินทรีย์)
23
แนวทางการเบิกจ่ายเงินกิจกรรมการพัฒนากลุ่มเกษตรกร
ชุมชน 1. เปิดบัญชี ธกส./ทำ MOU 2. หนังสือยินยอมให้เข้าทำประโยชน์ที่ดิน 3. รายงานผลการจัดเวทีครั้งที่ 2 กรมส่งเสริมการเกษตรแจ้งโอนเงิน สนง.กษจ. กลุ่มย่อย เปิดบัญชี ธกส./ทำสัญญายืมเงินกับชุมชน ดำเนินการตามแผนปฏฺบัติงาน/แผนใช้จ่าย งบประมาI
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.