ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
วิระวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลสมุทรปราการ ประสบการณ์ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงาน ในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติดในโรงพยาบาลสมุทรปราการ
2
โรงพยาบาลสมุทรปราการ
การบริหารจัดการ การเก็บข้อมูล กลุ่มIDU ตั้งแต่ปี 2554 กลุ่ม DU ต้นปี2556
3
โรงพยาบาลสมุทรปราการ
วิธีการเก็บข้อมูล ประชุมเจ้าหน้าที่ในกลุ่มงาน ทำเอกสาร(แบบบันทึก harm 1 harm2) นำเอกสารเข้าในระบบ รับใหม่ จำหน่าย ติดตาม IDU รับใหม่เก็บ harm 1และ2 ติดตาม harm 2ทุก 6 เดือน และเมื่อจำหน่าย ส่งต่อ 2
4
โรงพยาบาลสมุทรปราการ
DU รับใหม่ เก็บ harm1 harm 2 ติดตาม harm 2 เมื่อ จำหน่าย ส่งต่อ หลังจำหน่ายติดตามทุก 6 เดือน เจ้าหน้าที่ที่ปฎิบัติงานเป็นผู้เก็บข้อมูล ข้อมูลเก็บในแฟ้มผู้ป่วยแต่ละราย
5
โรงพยาบาลสมุทรปราการ
เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ keyข้อมูลในโปรแกรมภายหลัง ตรวจเช็คข้อมูลในฐานข้อมูล ส่งไฟล์ข้อมูลให้ส่วนกลาง
6
โรงพยาบาลสมุทรปราการ
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล 1ต.ล 2555ถึงปัจจุบัน
7
โรงพยาบาลสมุทรปราการ
การจัดการภายในองค์กร โครงสร้างงานเดิม สร้างความเข้าใจ ขอความร่วมมือ มีคนรับผิดชอบ
8
การติดตามผลการดำเนินงาน ในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติดในหน่วยบริการ โรงพยาบาลสมุทรปราการ เดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556 ฝ่ายพัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์
9
ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ
ผู้ใช้ยาเสพติดที่มารับบริการทั้งสิ้น 83 ราย IDU = 24 ราย (28.9%) และ Non IDU = 59 ราย (71.1%) ข้อมูล IDU Non-IDU จำนวน ร้อยละ เพศชาย 20 83.3 53 89.8 เพศหญิง 4 16.7 6 10.2 ผู้มารับบริการเคยมีประวัติการบำบัดยาเสพติด ก่อนเข้ารับบริการ 24 100 2 3.39
10
และฉีดยาเสพติดมาเป็นระยะเวลานานประมาณ 21 ปี
ผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ จำแนกตามกลุ่มอายุ และวิธีการใช้ยา/สารเสพติด % ปี มีอายุตั้งแต่ 14 – 66 ปี ผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ ส่วนใหญ่มีอายุเฉลี่ย 29.9 ปี (16-68 ปี) โดยเฉลี่ยผู้ใช้/สารเสพติดเริ่มใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดครั้งแรกเมื่ออายุ 20 ปี และฉีดยาเสพติดมาเป็นระยะเวลานานประมาณ 21 ปี
11
ยา/ สารเสพติดที่เคยใช้ ภายในระยะเวลา 1 ปี ก่อนเข้ารับบริการในครั้งนี้
ยา/ สารเสพติดที่เคยใช้ ภายในระยะเวลา 1 ปี ก่อนเข้ารับบริการในครั้งนี้ 27% ของ IDU ใช้ยาเสพติดมากกว่า 1 ชนิด ชนิดยาเสพติดที่ใช้ฉีดมากสุด 3 อันดับ ได้แก่ เฮโรอีน (91.7%) ฝิ่น (50%) มอร์ฟีน และยาบ้า (4.2%) 14% ของ Non IDU ใช้ยาเสพติดมากกว่า 1 ชนิด ชนิดยาเสพติดที่ใช้มากสุด 3 อันดับ ได้แก่ ยาบ้า (78%) กัญชา (27.1%) และมอร์ฟีน (15.3%)
12
พฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการใช้ยา/สารเสพติด
N
13
ร้อยละของพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ และ การใช้ถุงยางอนามัย เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด
%
14
ความรู้เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวีที่ตอบได้ถูกต้อง ของผู้ใช้ยาเสพติดที่มารับบริการ
%
15
สถานการณ์เอชไอวีในผู้ใช้ยา/สารเสพติด ในโรงพยาบาลสมุทรปราการ
คน เติม N
16
ร้อยละการให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ ในช่วงระยะเวลา เดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556
17
การตรวจคัดกรองสุขภาพของผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ ในช่วงระยะเวลา เดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556 Screen IDU (N = 23) Non-IDU (N=59) Screen TB 16 1 TB infected Screen STI 11 2 STI infected Screen HBV 12 HBV infected 5 Screen HCV HCV infected
18
โรงพยาบาลสมุทรปราการ
การพัฒนาระบบการเก็บข้อมูลและการนำมาใช้ประโยชน์ ควรเชื่อมประสานเข้าในระบบฐานข้อมูลหลัก เช่น บสต. พัมนาเป็นระบบบันทึกข้อมูลon line เพิ่มการบันทึกข้อมูลที่เป็นระบบรายงานของแต่ละหน่วยงานเพื่อทำเป็นระบบฐานข้อมูลเดียว จากNeed ของหน่วยงาน และพัฒนาร่วมเฉพาะหน่วยงาน
19
โรงพยาบาลสมุทรปราการ
หน่วยงานสามารถเข้าถึงข้อมูลทั้งในระดับหน่วยงาน จังหวัด ประเทศ มีระบบการ check up และยืนยันข้อมูล เพื่อลดการผิดพลาดของการลงข้อมูล ผลักดันให้เป็นระบบบันทึกและรายงานข้อมูลในระบบบำบัดยาเสพติดของกระทรวง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.