ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสันติ เคนเนะดิ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
แนวทางการบริหารงานเพื่อสอดรับ กับการปรับระบบบริหารงานบุคคล
โดย รศ.สุรชัย ขวัญเมือง มทร. ภาคตะวันออก 15 ก.ย. 52
2
กระทบกับบุคลากร ประเภท
การปรับระบบฯ กระทบกับบุคลากร ประเภท อาจารย์ ข้าราชการสายสนับสนุน
3
อาจารย์ ด้านบวก 1. มีการขยายเพดานเงินเดือนให้สูงขึ้นทุกประเภทตำแหน่ง 2. ผู้ดำรงตำแหน่ง ผศ. ได้รับเงินประจำตำแหน่ง 5,600 บาท 3. ผู้ดำรงตำแหน่ง รศ. ได้รับเงินประจำตำแหน่ง 9,900 บาท
4
ด้านลบ ผู้บริหารที่ดำรงตำแหน่ง หัวหน้าหน่วยงาน ตามกฎหมายที่มีคุณสมบัติ 1) เกษียณอายุราชการในปีดังกล่าว 2) ได้ ทช. มาแล้ว 5 ปี 3) เงินเดือนเต็มขั้นระดับ 8 จะได้รับเครื่องราชฯปถมาภรณ์มงกุฎไทย (สาย 1) ใหม่ - เมื่อมีการขยายเพดานเงินเดือน จะทำให้เงินเดือนไม่เต็มขั้น ทำให้มีคุณสมบัติไม่ครบ
5
ข้าราชการพลเรือนสายสนับสนุน
ด้านบวก ผู้อำนวยการกอง ระดับ 7 - ดำรงตำแหน่ง ผอ.กอง หัวหน้าสำนักงานคณะ / สถาบัน / สำนัก ระดับ 7 - ดำรงตำแหน่ง ผอ.กอง หรือ เทียบเท่า
6
แนวทางการปรับเปลี่ยนตำแหน่ง
7
แนวทางการปรับเปลี่ยนตำแหน่ง
ประเภททั่วไป ปฏิบัติงาน 1. ปฏิบัติการระดับต้น (ระดับ 1–4 เดิม) 2. ปฏิบัติการระดับต้น ที่มีประสบการณ์ (ระดับ 1-5 เดิม) ชำนาญงาน
8
แนวทางการปรับเปลี่ยนตำแหน่ง
ประเภททั่วไป ชำนาญงานพิเศษ 3. ชำนาญการ (ระดับ 7,8 เดิม) ชำนาญงานพิเศษ 4. ชำนาญงาน (ระดับ 7-8 เดิม)
9
แนวทางการปรับเปลี่ยนตำแหน่ง ประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ
1. ปฏิบัติการระดับกลาง (ระดับ 3-5/ ระดับ 4-5 เดิม) ปฏิบัติการ ชำนาญการ 2. ปฏิบัติการฯ (ระดับ 6,7 เดิม) ชำนาญการ 3. ชำนาญการ (ระดับ 6 เดิม) 4. หัวหน้างาน (ระดับ 7 เดิม) ชำนาญการ
10
แนวทางการปรับเปลี่ยนตำแหน่ง ประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ
ชำนาญการพิเศษ 5. ชำนาญการ (ระดับ 7-8 เดิม) ชำนาญการพิเศษ 6. หัวหน้างาน (ระดับ 7-8 เดิม) ชำนาญการพิเศษ 7. หัวหน้างาน (ระดับ 8 เดิม) เชี่ยวชาญ 8. เชี่ยวชาญ (ระดับ 9 เดิม) เชี่ยวชาญพิเศษ 9. เชี่ยวชาญพิเศษ (ระดับ 10 เดิม)
11
งานที่ต้องทำก่อนปรับ/หลังปรับระบบบริหาร
12
การวิเคราะห์ตำแหน่ง
13
การวิเคราะห์และประเมินค่างานกรณีตำแหน่งผู้บริหาร
การวิเคราะห์ตำแหน่ง การวิเคราะห์และประเมินค่างานกรณีตำแหน่งผู้บริหาร มี องค์ประกอบ 1) หน้าที่และความรับผิดชอบของตำแหน่ง 2) ความยุ่งยากของงาน ความสามารถที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน 3) การควบคุม กำกับ ตรวจสอบ หรือบังคับบัญชา 4) ความรู้ที่ต้องการในการปฏิบัติงาน
14
การวิเคราะห์ตำแหน่ง
ข.แบบวิเคราะห์ความจำเป็นการกำหนดระดับตำแหน่งฯ ส่วนที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้นของหน่วยงาน ส่วนที่ 2 หน้าที่และความรับผิดชอบของตำแหน่ง ส่วนที่ 3 ความยุ่งยากของงาน ความสามารถที่จำเป็น ในการปฏิบัติงาน
15
การวิเคราะห์ตำแหน่ง
ข.แบบวิเคราะห์ความจำเป็นการกำหนดระดับตำแหน่งฯ ส่วนที่ 4 ระดับความสำเร็จของการควบคุมบังคับบัญชาและ การตรวจสอบ ส่วนที่ 5 ความรู้ที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน ส่วนที่ 6 รายละเอียดองค์ประกอบของการประเมิน ส่วนที่ 7 สรุปความเห็นของกรรมการ
16
ค. หลักเกณฑ์วิธีการกำหนดตำแหน่งชำนาญการ
การวิเคราะห์ตำแหน่ง ค. หลักเกณฑ์วิธีการกำหนดตำแหน่งชำนาญการ กำหนดตัวชี้วัด ดังนี้ 1) ภาระงานของหน่วยงาน 2) ลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบ 3) คุณภาพงานของตำแหน่ง 4) ความรู้ความสามารถสำหรับตำแหน่ง
17
การประเมินเพื่อแต่งตั้งบุคคล ให้ดำรงตำแหน่ง
การประเมินเพื่อแต่งตั้งบุคคล ให้ดำรงตำแหน่ง
18
การประเมินเพื่อแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้บริหาร 2.1 หลักเกณฑ์การประเมินการปฏิบัติงาน มีองค์ประกอบ ดังนี้ ความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน พิจารณาจาก ความรู้และประสบการณ์ในทางวิชาการ ความสามารถในการบริหารงาน ความสามารถปฏิบัติงานให้สำเร็จโดยประหยัดทรัพยากร ความสามารถในการตัดสินใจ ความคิดริเริ่ม
19
องค์ประกอบข้อนี้ กรรมการฯจะพิจารณาผลการปฏิบัติงานประกอบ
2.1 หลักเกณฑ์การประเมินการปฏิบัติงาน มีองค์ประกอบ ดังนี้ (ต่อ) 2) ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ พิจารณาจาก ความสามารถในการบริหารงานที่อยู่ในความรับผิดชอบ การดำเนินงานให้สำเร็จลุล่วง โดยคำนึงถึงเป้าหมายและ ความสำเร็จของงานเป็นหลัก การยอมรับปัญหาที่เกิดจากการทำงาน ความสามารถในการแก้ไขได้อย่างเหมาะสม องค์ประกอบข้อนี้ กรรมการฯจะพิจารณาผลการปฏิบัติงานประกอบ
20
3) การวางแผน ควบคุม ติดตามผลการปฏิบัติงาน พิจารณาจาก
2.1 หลักเกณฑ์การประเมินการปฏิบัติงาน มีองค์ประกอบ ดังนี้ (ต่อ) 3) การวางแผน ควบคุม ติดตามผลการปฏิบัติงาน พิจารณาจาก ความสามารถในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน การควบคุมและการปฏิบัติให้เป็นไปตามแผน การติดตามประเมินผลงานของหน่วยงานและของ ผู้ใต้บังคับบัญชา การปรับปรุงและพัฒนางาน เช่น การจัดระบบทำงาน
21
4) การแนะนำ สอนงาน และพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา พิจารณาจาก
2.1 หลักเกณฑ์การประเมินการปฏิบัติงาน มีองค์ประกอบ ดังนี้ (ต่อ) 4) การแนะนำ สอนงาน และพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา พิจารณาจาก การให้คำปรึกษา แนะนะสอนงานผู้ใต้บังคับบัญชา การปรับปรุงและพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาให้ปฏิบัติงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
22
ความประพฤติ พิจารณาจาก
2.2 หลักเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะของบุคคล มีองค์ประกอบ ดังนี้ ความประพฤติ พิจารณาจาก อุปนิสัยความประพฤติทั้งในด้านส่วนตัวและการรักษาวินัย กรรมการจะต้องพิจารณาจาก ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่นๆด้วย
23
2) มนุษยสัมพันธ์ พิจารณาจาก
2.2 หลักเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะของบุคคล มีองค์ประกอบ ดังนี้ 2) มนุษยสัมพันธ์ พิจารณาจาก การให้ความร่วมมือในส่วนที่เกี่ยวข้องกับราชการหน่วยงานภายใน และภายนอก ที่ต้องปฏิบัติเกี่ยวข้องกัน อันก่อให้เกิดประโยชน์แก่มหาวิทยาลัย และส่วนราชการอื่น
24
1) ความเป็นผู้นำ พิจารณาจาก
2.3 หลักเกณฑ์การประเมินสมรรถนะของบุคคล มีองค์ประกอบ ดังนี้ 1) ความเป็นผู้นำ พิจารณาจาก ความสามารถในการวางตนและเป็นตัวอย่างที่ดี การมีศิลปะในการโน้มน้าว จูงใจ กระตุ้น และให้กำลังใจแก่ผู้ร่วมงาน ความตั้งใจและเต็มใจร่วมกันทำงานให้สำเร็จ ความสนใจและความสามารถในการพัฒนา ทักษะ ความรู้ ความสามารถของทีมงาน ด้วยวิธีต่างๆ
25
2) การคิดเชิงกลยุทธ์ พิจารณาจาก
2.3 หลักเกณฑ์การประเมินสมรรถนะของบุคคล มีองค์ประกอบ ดังนี้ (ต่อ) 2) การคิดเชิงกลยุทธ์ พิจารณาจาก ความสามารถในการประเมินสถานการณ์ การกำหนดกลยุทธ์ การลดจุดอ่อนและเสริมจุดแข็ง การแปรวิกฤติเป็นโอกาส การคิดเพื่อให้ได้รับชัยชนะในทุกสถานการณ์
26
3) การตัดสินใจแก้ปัญหา พิจารณาจาก
2.3 หลักเกณฑ์การประเมินสมรรถนะของบุคคล มีองค์ประกอบ ดังนี้ (ต่อ) 3) การตัดสินใจแก้ปัญหา พิจารณาจาก ความสามารถในการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา การวิเคราะห์แนวทางในกาแก้ปัญหาโดยมีหลายทางเลือก การเลือกแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม การใช้ข้อมูลประกอบในการตัดสินใจและแก้ปัญหา
27
4) วิสัยทัศน์ พิจารณาจาก
2.3 หลักเกณฑ์การประเมินสมรรถนะของบุคคล มีองค์ประกอบ ดังนี้ (ต่อ) 4) วิสัยทัศน์ พิจารณาจาก ความสามารถในการคาดการณ์หรือพยากรณ์สถานการณ์ข้างหน้า อย่างมีหลักการและเหตุผล การกำหนดกลยุทธ์ และวางแผนการดำเนินการเพื่อรองรับสิ่งที่ คาดว่าจะเกิดขึ้น
28
การประเมินสมรรถนะ Test of Performance Behavior Observation Self-Report
ลักษณะของแบบประเมินที่ใช้พฤติกรรมกำหนดระดับ (Behaviorally Anchored Rating Scale = BARS)
29
เกณฑ์การให้คะแนนระดับตัวบ่งชี้
ดีมาก หมายถึง - ปรากฏคุณลักษณะเด่นชัดยิ่ง - มีลักษณะหลากหลายหรือสะท้อนคุณภาพในระดับเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง - บรรลุผลสัมฤทธิ์เกือบทุกครั้งหรือตั้งแต่ ร้อยละ 80 ขึ้นไป ของเป้าหมาย
30
เกณฑ์การให้คะแนนระดับตัวบ่งชี้
ดี หมายถึง - ปรากฏคุณลักษณะเด่นชัด - มีลักษณะค่อนข้างหลากหลายหรือสะท้อนคุณภาพในระดับ เป็นที่ยอมรับ - บรรลุผลสัมฤทธิ์เกือบทุกครั้งหรือตั้งแต่ ร้อยละ ขึ้นไป ของเป้าหมาย
31
เกณฑ์การให้คะแนนระดับตัวบ่งชี้
พอใช้ หมายถึง - ปรากฏคุณลักษณะเด่นชัดพอสมควร - มีลักษณะค่อนข้างสะท้อนคุณภาพในระดับเป็นที่ยอมรับปานกลาง - บรรลุผลสัมฤทธิ์ร้อยละ ของเป้าหมาย
32
เกณฑ์การให้คะแนนระดับตัวบ่งชี้
ควรปรับปรุง หมายถึง - ไม่ค่อยปรากฏคุณลักษณะหรือ - ปรากฏพฤติกรรมบ่งชี้ไม่ชัดเจนหรือเกิดขึ้นน้อย - บรรลุผลสัมฤทธิ์ต่ำกว่า ร้อยละ 60 ของเป้าหมาย
33
แบบบันทึกการประเมิน สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ บันทึกร่องรอยคุณภาพ คะแนนผลการตัดสินใจ ระบุข้อมูล / สารสนเทศ / หลักฐานที่สะท้อนคุณภาพ การปฏิบัติงาน
34
ตัวอย่างแบบประเมินสมรรถนะ
ตัวบ่งชี้ ระดับพฤติกรรม 4 3 2 1 1. ความเป็นผู้นำ 1. ความสามารถในการวางตน และเป็นตัวอย่างที่ดี 2. การมีศิลปะในการโน้มน้าว จูงใจ กระตุ้น และให้กำลังใจแก่เพื่อนร่วมงาน
35
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.