งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
ประจำปีงบประมาณ 2559

2 นโยบายการดูแลส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย
กลุ่มเด็กปฐมวัย 0-5ปี/สตรี กลุ่มเด็กวัยเรียน(5-14 ปี) กลุ่มเด็กวัยรุ่น/นักศึกษา (15-21ปี) กลุ่มวัยทำงาน (15-59 ปี) กลุ่มผู้สูงอายุ(60ปีขึ้นไป)และผู้พิการ ดูแลแม่คุณภาพ/แม่กลุ่มเสี่ยง -ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สป.และ 5 ครั้งตามเกณฑ์ -ได้รับยาเสริมธาตุเหล็กทุกคน เด็ก0-3ปี -นมแม่ 6 เดือน -ยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก 6 ด.-5 ปี -อาหารตามวัย -พัฒนาการ 5 ด้าน (9,18,30,42 ด.) -เฝ้าระวังการเจริญเติบโต (รูปร่าง/ส่วนสูงตามเกณฑ์) เด็ก 3-5 ปี -พัฒนาการ 5ด้าน/EQ -อาหารตามวัย เฝ้าระวังการเจริญเติบโต (รูปร่าง/ส่วนสูงตามเกณฑ์) เด็กนักเรียน(5-14ปี) -ตรวจคัดกรองสุขภาพตามเกณฑ์ -คัดกรองพฤติกรรมเสี่ยง -เฝ้าระวังการเจริญเติบโต -การเสียชีวิตจากการ จมน้ำ -สุขภาพช่องปาก/สายตา/การได้ยิน เด็กวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยง -ตั้งครรภ์วัยรุ่น (อัตราการคลอดมีชีพ/การตั้งครรภ์ซ้ำ) -เพศศึกษา(การใช้ถุงยางอนามัย) -บุหรี่ /แอลกอฮอล์ -ยาเสพติด -ทักษะชีวิต/EQ -ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม -คัดกรองโรคอ้วนลงพุง /NCD -โรคหลอดเลือดหัวใจ -พฤติกรรมเสี่ยง 5 เรื่อง - วางแผนครอบครัว คัดกรองโรคซึมเศร้า ออกกำลังกาย ยาเสพติด อุบัติเหตุทางถนน - คัดกรอง 3 กลุ่ม (ติดบ้าน,ติดสังคม,ติดเตียง) ประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ -ประเมิน ADL คัดกรองโรคที่พบบ่อย(DM,HT,ฟัน,สายตา) คัดกรอง Geriatric Syn. (หกล้ม,สมอง,กลั้นปสว.,นอนไม่หลับ,ซึมเศร้า,เข่าเสื่อม) -Care Manager/Giver -ระบบบริการคนพิการขาขาด/คุณภาพชีวิตผู้พิการ ปรับพฤติกรรม/แก้ไขปัญหาสายตา/ภาวะโภชนาการ/IQ EQ ANC คุณภาพ WCC คุณภาพ/ กระตุ้นพัฒนาการ ปรับพฤติกรรม/วางแผนครอบครัว/ คลินิกยาเสพติด ระบบบริการ/ส่งต่อผู้สูงอายุ/ผู้พิการ คลินิกANCคุณภาพ LR คุณภาพ คลินิกกระตุ้นพัฒนาการ คลินิกYFHS/ยาเสพติด/Psychosocial clinic / คลินิก NCD /DPAC Plus /วางแผนครอบครัว/รพ.ส่งเสริมสุขภาพ รพ.ด้านอาหาร/โภชนาการ /ศูนย์คัดกรองยาเสพติด คลินิกผู้สูงอายุ ไร้พุง (จนท.สธ./อสม./พนักงาน/ครู/ พี่เลี้ยงเด็ก) อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ - รร.ต้นแบบ EQ/IQ (1 รพ. /1 รร.) -สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย (DPAC 1 รพ./1 โรงงาน) ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ตำบลนมแม่ อำเภอผู้สูงอายุ/ตำบลLTC/ วัดส่งเสริมสุขภาพ รร.ส่งเสริมสุขภาพ (แก้ปัญหา เด็กอ้วน 1 รร. 1 ศพด./1 รพสต.)

3

4

5

6 แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ “ การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย ” จังหวัดสมุทรปราการ
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ “ การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย ” จังหวัดสมุทรปราการ ระยะ5 ปี (พ.ศ.2559 – 2563) ประเด็นจุดยืน (Strategic Positioning) ด้านที่ 1 กลุ่มแม่และเด็ก ด้านที่ 2 กลุ่มวัยเรียน ด้านที่ 3 กลุ่มวัยรุ่น/นักศึกษา ด้านที่ 4 กลุ่มวัยทำงาน ด้านที่ 5 กลุ่มผู้สูงอายุ/ผู้พิการ วิสัยทัศน์ : วัฒนธรรมสุขภาพเข้มแข็ง ภาคีทุกภาคส่วนร่วมพัฒนา สภาพแวดล้อมปลอดภัย บริการสุขภาพแบบองค์รวม อย่างเชี่ยวชาญ ทุกกลุ่มวัยดูแลตนเองได้อย่างมีความสุข ประเด็นยุทธศาสตร์ (strategic Issue) 1.สร้างวัฒนธรรมสุขภาพทุกกลุ่มวัยให้เข้มแข็งประชาชนดูแล พึ่งตัวเองได้ 2.ลดปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ทุกกลุ่มวัยแบบมีส่วนร่วมจากภาคีทุกภาคส่วน 3.การพัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกกลุ่มวัยให้มีคุณภาพมาตรฐานเป็นองค์รวม 4.การจัดการสภาพแวดล้อมสุขภาพให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดีของทุกกลุ่มวัย 5 การพัฒนาองค์กร บุคลากร และระบบสนับสนุนภารกิจสุขภาพทุกกลุ่มวัย เป้าประสงค์ของแผนยุทธศาสตร์ (strategic Issue goals ) 1 มีช่องทางการสื่อสาร/เตือนภัยด้านสุขภาพที่กลุ่มวัยทำงานเข้าถึงได้ประชาชนมีแบบแผน วิถีการดำเนินชีวิตที่เหมาะสมต่อการมีสุขภาพดี มีความเข้มแข็ง พึ่งตนเองทางสุขภาพได้ 2. ตั้งครรภ์ คลอด ปลอดภัย พ่อ แม่คุณภาพ ให้มีทักษะ และใส่ใจเลี้ยงลูกให้แข็งแรง พัฒนาการ โภชนาการสมวัย 4. เด็กวัยเรียนเติบโตสมวัย มีทักษะชีวิต สามารถจัดการภาวะสุขภาพของตนเอง ประชาชนมีนิสัยสุขภาพที่ดี ลดพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพ 6.ลดอัตราการเกิดโรคจากการประกอบอาชีพ ลดปัญหาจากโรค NCD ลดพฤติกรรมเสี่ยง ลดป่วย ลดภาวะแทรกซ้อน ลดตาย 7.ผู้สูงอายุและผู้พิการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพอย่างทั่วถึง 8.สถานบริการสุขภาพทุกระดับของจังหวัดมีคุณภาพมาตรฐาน ที่ยั่งยืน มีผลสัมฤทธิ์ทางการแพทย์ในระดับสถานบริการมาตรฐานการสาธารณสุข มีชุมชน หน่วยงาน องค์กรต้นแบบ ที่จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดีของทุกกลุ่มวัย 9.บุคลากรทางการแพทย์ และบุคลากรสาธารณสุขทุกระดับมีสมรรถนะ มีทักษะสากล มีความสุขในการทำงาน

7

8

9

10 ตัวชี้วัดในการกำกับประเมินผล PP Non UC ปีงบประมาณ 2559 มีทั้งหมด 14 ตัวชี้วัด
ระดับประเทศ จำนวน 13 ตัว :- เชิงปริมาณ 10 ตัวชี้วัด, เชิงคุณภาพ 3 ตัวชี้วัด ระดับเขต จำนวน 1 ตัว :- เชิงปริมาณ 1 ตัว

11 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ จำนวน 3 ตัวชี้วัด
1. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ได้รับบริการฝากครรภ์ครั้งแรก ภายใน 12 สัปดาห์ 2. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ได้รับบริการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ 3. ร้อยละสะสมความครอบคลุมการได้รับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ ปี ภายใน 5 ปี ตัวชี้วัดระดับเขต จำนวน 1 ตัว ดังนี้ ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. ร้อยละกลุ่มเป้าหมายประชากร Non UC ที่ได้รับบริการเชิงรุก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5

12 6. จำนวนเด็ก 6-12 ปี ที่ได้รับบริการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง (คน)
7. จำนวนบริการวัคซีน EPI ทุกชนิดในเด็กแรกเกิดถึงเด็ก ป.6 (คน) 8. จำนวนการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกหญิงอายุ ปี (คน) 9. จำนวนการตรวจคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตในผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป (คน) 10.จำนวนการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้าในผู้ที่มีอายุ 30 ปีขึ้นไป (คน)

13 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จำนวน 10 ตัวชี้วัด ดังนี้
1.จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการดูแลก่อนคลอดครั้งที่ 1 (คน) 2.จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการดูแลก่อนคลอดทั้งหมด (ครั้ง) 3.จำนวนหญิงหลังคลอดที่ได้รับบริการดูแลและหลังคลอดอย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป (คน) 4.จำนวนการรับบริการคุมกำเนิด (คน) 5.จำนวนเด็ก 0-5 ปี ที่ได้รับการตรวจพัฒนาการ (คน)

14 โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ ฯ
เหตุผลความจำเป็น :  พัฒนาการสงสัยล่าช้า ปี 58 = 8.34 % (ระดับเขต = 26.3 % )  คุณภาพการคัดกรองยังไม่ได้มาตรฐาน / (ทักษะการคัดกรอง เครื่องมือ สถานที่ในการคัดกรอง การสื่อสาร )  ระยะเวลาให้บริการ การสื่อสาร ) การให้บริการ (ทุกพุธเต็มวัน/ครึ่งวัน พุธครึ่งวัน..เดือนละ 1-2 ครั้ง)  ขาดการเชื่อมโยง SP และบูรณาการจัดการปัญหา ระดับจังหวัด/อำเภอ/ตำบล ทุกภาคส่วน  ระบบข้อมูลพัฒนาการ (Hosxp/Mild PCU) ยังไม่ Support (ยังต้องเก็บรายงานต่างหาก)

15 จำนวนบุคลากรทางการแพทย์ดูแลส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 6
11 7 6 10 3 34 2 126 13 1 1 5 21 9 1 10 12 1 14 1 7 9 29 นักแก้ไขการพูด นักจิตวิทยา TDSI ผู้มีประสบการณ์ DSPM/DAIM TEDA 4 I พยาบาลเฉพาะทางจิตเวชเด็กและวัยรุ่น จิตแพทย์เด็ก กุมารแพทย์พัฒนาการเด็ก กุมารแพทย์ทั่วไป/กุมารแพทย์เฉพาะทางสาขาอื่นๆ 3 5 20 18 134 23 7 12 151 5 1 13 19 2 10 8 1 17 19 4

16 การวิเคราะห์ข้อมูลการให้บริการพัฒนาการเด็ก ระดับรพ.สต
จังหวัดสมุทรปราการ ที่ หน่วยงาน จนท.ตรวจ ห้องตรวจพัฒนาการ วันให้บริการ WCC เด็กมาWCCเฉลี่ย/วัน พัฒนาการเด็ก เป็นสัดส่วน ไม่เป็นสัดส่วน พุธเต็มวัน/ทุกWks พุธครึ่งวัน… /ทุกWks พุธที่ 2,3 หรือ1,3ของเดือน พุธที่2ของเดือน สูงสุด ต่ำสุด 1 รพ.สป.  2-3คน 3 21  24  0 58   20 2 รพ.บางบ่อ 1 คน 13 4 8 60 5 รพ.บางพลี 2-3คน 11 80 รพ.บางจาก ยังไม่มีข้อมูล  รพ.บางเสาธง 6 รพ.พระสมุทรเจดีย์ 1-2 คน 7 41 รพ.วิภารามชัยปราการ ยังไม่มีข้อมูล (รพ.สต. 6 แห่ง อ.พระประแดง) รพ.เมืองสมุทร ปู่เจ้าฯ 2 คน 20 15 9 รพ.เซ็นทรัลปาร์ค 2 แห่ง 50 12

17 ผลการดำเนินงาน (เดือนตุลาคม –ธันวาคม 2558)
1. แต่งตั้งคณะทำงาน Core Team ระดับอำเภอ (อยู่ในระหว่างดำเนินการ) 2. นิเทศติดตามคุณภาพระบบการคัดกรองดูแลติดตาม ส่งต่อ ในเด็ก กลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยง ระดับ รพ.สต./รพ. บูรณาการร่วมกับศูนย์อนามัยที่ 3 และรพ.ยุวประสาทฯ (9 ธันวาคม 2558)  อำเภอเมือง (รพ.สป. ,รพ.สต.เทพารักษ์,รพ.สต.สำโรงเหนือ)  อำเภอบางพลี (รพ.บางพลี,รพ.สต.บางแก้ว,รพ.สต.บางปลา) 3. อบรม PG(เฉพาะทางจิตเวชเด็กและวัยรุ่น) จำนวน 4 คน (เดือนกพ.-มิย.59)(รพ.พระสมุทรฯ รพ.บางบ่อ,บางจาก และรพ.บางพลี) ได้รับโควตาฟรีจากรพ.ยุวประสาทฯ เดิม มี PG 1 คน (รพ.สป.) รพ.บางจาก ป.โท ด้านจิตวิทยาเด็ก 4. ชุดตรวจ TEDA 4I ได้รับจัดสรร 6 ชุด...รับที่รพ.สมเด็จเจ้าพระยา

18 สรุปรายงานพัฒนาการเด็กสงสัยล่าช้า 4 ช่วงวัย จังหวัดสมุทรปราการ
ไตรมาสที่ 1 (ตค.-ธค.58) อายุ เมือง บางบ่อ บางพลี พระประแดง พระสมุทรฯ บางเสาธง 9 เดือน 8.05 26.21 3.2 5.95 1.14 18 เดือน 9.12 25.47 2.6 3.29 0.62 1.33 30 เดือน 3.6 18.79 3.5 3.47 3.03 42 เดือน 1.97 18.53 1.95 1.63 0.94 รวม 5.68 22.25 2.81 3.58 1.19 2.27 หมายเหตุ: คุณภาพการคัดกรองพบสงสัยล่าช้า ร้อยละ 20

19 สรุปรายงานข้อมูลพัฒนาการเด็กปฐมวัย ช่วงอายุ 9 เดือน,18 เดือน,30เดือนและ 42 เดือน (ตค.-พย.58)
จังหวัดสมุทรปราการ ที่ รายการ 9 เดือน 18 เดือน 30 เดือน 42 เดือน รวม ร้อยละ 1 เป้าหมายเด็กปฐมวัยในแต่ละช่วงอายุ (คน) 796 993 1094 1463 4346 2 ได้รับการประเมิน (ตรวจคัดกรอง) 716 866 936 1244 3762 86.56 3 สมวัย 676 821 905 1229 3631 96.52 4 สงสัยล่าช้า 40 45 31 15 131 3.48 5 ได้รับการติดตาม 100 6 สมวัยหลังได้รับการกระตุ้น 36 41 29 12 118 90.08 7 ไม่สมวัยหลังได้รับการกระตุ้น 13 9.92 7.1 ด้านการเคลื่อนไหว (GM) 7.2 ด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา (FM) 10 7.3ด้านการใช้ภาษา (RL) 7.4ด้านการเข้าใจภาษา (EL) 9 7.5 ด้านการช่วยเหลือตนเอง (PS) 8 ขาดการติดตาม/ติดตามไม่ได้ อยู่ระหว่างการติดตาม

20 รพ.สต.ที่ลงเยี่ยมอำเภอเมือง: บริบท WCC ทุกพุธ ครึ่งวันเช้า
เฉลี่ย ราย จนท.คัดกรอง 2 คน จุดที่ควรพัฒนา 1. สถานที่คัดกรองเด็กไม่เหมาะสม ไม่มีห้องเป็นสัดส่วน 2. ทักษะการคัดกรอง ไม่แม่นช่วงพัฒนาการ สอบถาม ผปค.มากกว่าการใช้วิธีทดสอบ ระยะเวลาการคัดกรองน้อยมาก 3. ขาดการชี้แจงการคัดกรองพัฒนาการ WHAT WHERE WHEN WHY WHO 4. อุปกรณ์ ไม่แยกชัดเจน 5. ผู้ปกครอง * ขาดความตระหนักในการคัดกรองพัฒนาการเด็ก * ไม่ได้นำสมุด DSPM มาด้วย 6.ระบบข้อมูล * การนัดไม่ชัดเจน จนท.ลงทะเบียนล่าช้าติดตาม 1 เดือน * ไม่ได้เตรียมข้อมูลจากระบบ ฐานข้อมูล type 1,Type 3,4 * ขาดระบบการติดตาม

21 รพ.สต.ลงเยี่ยมแห่งที่ 2 อำเภอเมือง : บริบท WCC ทุกพุธ ครึ่งวันเช้า
จุดเด่น 1. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ เปิดรับฟังความคิดเห็นผู้ปฏิบัติ ประชุมรับฟังความคิดเห็นทุกเดือนสนับสนุนงบประมาณ/อุปกรณ์ด้านพัฒนาการเด็ก มีการสื่อสารทางไลน์ 2. มีสถานที่คัดกรองเป็นสัดส่วน 3. ทักษะการคัดกรอง จนท.กระตือรือร้น ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 4. การบริหารจัดการอุปกรณ์อุปกรณ์ เครื่องมือดี มีพร้อม 5. การสื่อสาร : สื่อโปสเตอร์พัฒนาการเด็ก สื่อสารเสียงตามสาย 6.ระบบข้อมูล * มีระบบนัด แยกเด็กในเขตและนอกเขต (type 1,Type 3,4 ) * มีระบบการติดตามที่ดี จุดที่ควรพัฒนา : ฉีดวัคซีนก่อนตรวจพัฒนาการ

22 ผลจากการนิเทศงานอำเภอเมือง 1. อบรมทักษะจนท. รพ. สต. 17 ธันวาคม 2558 2
ผลจากการนิเทศงานอำเภอเมือง 1. อบรมทักษะจนท.รพ.สต. 17 ธันวาคม คิดค้นนวัตกรรมพัฒนาการเด็ก 3. กำหนดขั้นตอนการให้บริการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก 4. FLOW ระบบขั้นตอนการเฝ้าระวัง/ส่งต่อพัฒนาการเด็ก รพ.สมุทรปราการ 5. จังหวัดกำหนดปฏิทินช่วงอายุที่ให้บริการ

23 ขั้นตอนการให้บริการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก ใน รพ.สต.
1.เตรียมรายชื่อเด็กกลุ่มเป้าหมาย Type1 9,18,30,42 เดือน (ทำแฟ้ม) 2.ให้สุขศึกษา พัฒนาการเด็ก ,CD,ชั่งน้ำหนัก,วัดส่วนสูง 3.แยกคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย แยกประเมินละเอียดตามรายบุคคล(แยกห้องตรวจ) 4.เด็กกลุ่มนอกเป้าหมาย Type3,4,ต่างด้าว ให้ผู้ปกครองฝึกทำคู่มือ,ประเมินพัฒนาการเด็ก ตามสมุด,เอกสาร 5.ถ้าเด็กกลุ่มเป้าหมายType1 ไม่มา จะตามโดยการโทร ,อสม เยี่ยมบ้าน 6.ถ้าเด็กกลุ่มเป้าหมาย Type1 มีพัฒนาการล่าช้า ให้ผปค. กระตุ้นและนัดตรวจซ้ำ 1 เดือน 7. ถ้า ล่าช้า ให้ส่งต่อ “คลินิกกระตุ้นพัฒนาการเด็ก รพ.สป” ๘ ให้ตรวจพัฒนาการเด็กก่อน ฉีดวัคซีน เพราะเด็กจะงอแง 9.แยกกล่องอุปกรณ์ ตามกลุ่มอายุ เพื่อสะดวกต่อการใช้

24 ประเด็นสำคัญเร่งรัด พัฒนาการเด็ก (นโยบาย) การแก้ปัญหาเด็กอ้วน (นโยบาย+ปัญหาจังหวัด) การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) (นโยบาย)

25 ข้อสั่งการ (สธน.) ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙
ข้อสั่งการ (สธน.) ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ จัดจุด/ห้องตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กที่เป็นสัดส่วน น่าใช้ และ เป็นมิตรไม่เป็นอันตรายต่อเด็ก และเป็นแรงจูงใจให้ผู้มารับบริการ สนับสนุน ยาน้ำเสริมธาตุเหล็กให้เพียงพอ พัฒนาบุคลากรด้านการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก พื้นที่มีระบบการติดตามเด็ก มีระบบการส่งต่อที่ ชัดเจน

26 + การดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
ที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล ( Long Term Care) ปี งบประมาณ จังหวัดสมุทรปราการ +

27 นโยบายรัฐบาลปีงบประมาณ 2559
ปี ดำเนินการ ร้อยละ 10 พื้นที่ 1,000 ตำบล ครอบคลุมผู้สูงอายุ 100,000 ราย ปี 2560 ดำเนินการ ร้อยละ 50 พื้นที่ 5,000 ตำบล ครอบคลุมผู้สูงอายุ 500,000 ราย ปี 2561 ดำเนินการ ร้อยละ 100 พื้นที่ ทุกตำบล ครอบคลุมผู้สูงอายุ 1,000,000 ราย 3 เดือน ตำบลมีฐานข้อมูลสุขภาพบุคคลในพื้นที่ 6 เดือน มีตำบลต้นแบบ LTC อย่างน้อย 1,000 ตำบล 9 เดือน มีตำบลต้นแบบดูแล LTC สามารถขยายผลสู่ตำบลจัดการสุขภาพ กลุ่มวัย แบบบูรณาการ ได้ อย่างน้อย 1000 ตำบล 12 เดือน มี Best practice ของตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัย แบบบูรณาการ

28 ปีงบประมาณ 2559 พื้นที่นำร่อง จังหวัดสมุทรปราการ 1 ตำบล : 1 อำเภอ
อำเภอเมืองสมุทรปราการ เทศบาลนครสมุทรปราการ พื้นที่ โรงพยาบาลสมุทรปราการ ได้แก่ 1. ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำ 2. ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองราชา 3. ศูนย์สุขภาพชุมชนสะพานสาม 4. รพ.สต.บางด้วน จำนวนผู้สูงอายุติดบ้าน 341 ราย จำนวนผู้สูงอายุติดเตียง 163 ราย ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care giver) จำนวน 30 คน

29 อำเภอพระประแดง เทศบาลเมืองลัดหลวง พื้นที่ โรงพยาบาลบางจาก ได้แก่
1. PCU รพ.บางจาก 2. รพ.สต.บางจาก 3. รพ.สต.บางครุ 4. รพ.สต.บางพึ่ง จำนวนผู้สูงอายุติดบ้าน 340 ราย จำนวนผู้สูงอายุติดเตียง ราย ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขในพื้นที่ (Care manager) จำนวน 4 คน ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care giver) จำนวน 100 คน (เป้า 160 คน)

30 อำเภอพระสมุทรเจดีย์ อบต.ในคลองบางปลากด พื้นที่ โรงพยาบาลพระสมุทรเจดีย์ฯได้แก่ 1. PCU รพ.พระสมุทรเจดีย์ 2. รพ.สต.ในคลองบางปลากด 3. รพ.สต.บ้านคู่สร้าง 4. รพ.สต.บ้านคลองนาเกลือน้อย จำนวนผู้สูงอายุติดบ้าน 339 ราย จำนวนผู้สูงอายุติดเตียง 21 ราย ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขในพื้นที่ (Care manager) จำนวน คน ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care giver) จำนวน คน

31 อำเภอบางพลี อบต.บางแก้ว พื้นที่ โรงพยาบาลบางพลี ได้แก่
อบต.บางแก้ว พื้นที่ โรงพยาบาลบางพลี ได้แก่ 1. รพ.สต.บางแก้ว 2. รพ.สต.วัดสลุด 3. ศูนย์แพทย์ครอบครัว อบต.บางแก้ว จำนวนผู้สูงอายุติดบ้าน 253 ราย จำนวนผู้สูงอายุติดเตียง 39 ราย อบต.บางโฉลง พื้นที่ โรงพยาบาลบางพลี ได้แก่ 1. รพ.สต.บางโฉลง 2. รพ.เซ็นทรัล ปาร์ค บางโฉลง จำนวนผู้สูงอายุติดบ้าน 298 ราย จำนวนผู้สูงอายุติดเตียง 44 ราย ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขในพื้นที่ (Care manager) จำนวน คน ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care giver) จำนวน 34 คน

32 ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขในพื้นที่
อำเภอบางบ่อ อบต.บางบ่อ พื้นที่ โรงพยาบาลบางบ่อ ได้แก่ 1. รพ.สต.บางบ่อ จำนวนผู้สูงอายุติดบ้าน 11 ราย จำนวนผู้สูงอายุติดเตียง 6 ราย ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขในพื้นที่ (Care manager) จำนวน คน ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care giver) จำนวน 30 คน

33 อำเภอบางเสาธง อบต.บางเสาธง พื้นที่ โรงพยาบาลบางเสาธง ได้แก่
1. รพ.สต.บางเสาธง 2. รพ.สต.เสาธงกลาง 3. รพ.สต.กัลปพฤกษ์ 4. รพ.สต.เมืองใหม่บางพลี 5. ศสช.เจริญราษฎร์ จำนวนผู้สูงอายุติดบ้าน 48 ราย จำนวนผู้สูงอายุติดเตียง 22 ราย ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขในพื้นที่ (Care manager) จำนวน คน ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care giver) จำนวน คน

34


ดาวน์โหลด ppt นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google